โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน ”
ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาจรีย์ สงคง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L7572-01-010 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 29 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L7572-01-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 29 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 109,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพปัญหาที่พบของผู้พิการ ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและถือว่าเป็น "ภัยเงียบ"เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎ อาการ และเป็นสาหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือดในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและเศรษฐกิจของประชาชนเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังนั้น งานสาธารณสุขมูลฐาน กองสาธารณสุขและสิ่งแแวดล้อมเทศบาลเมืองพัทลุง พัฒนารูปแบบกระบวนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ อันประกอบด้วยการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา การฟื้นฟูสภาพได้ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรค และการดูแลหลังเกิดโรคที่ทำให้เกิดความพิการ และผู้ป่วยประคับประคอง โดยใช้เครือข่ายระหว่าง โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชน เทศบาลเมืองพัทลุง และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนจะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนื่องยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ และเพื่อแก้ปัญหากลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน งานสาธารณสุขมูลฐาน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังขึ้นมา เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการติดตามประเมินสภาวะสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดระดับความดันโลหิตตามมาตรฐาน การติดตามเข้ารับการรักษา พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดีและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการมีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อเพิ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รับสมัครอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ 1วัน
- ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์คูหาสวรรค์จำนวน 3 วัน
- ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ท่ามิหรำ จำนวน 3 วัน
- ฝึกปฏิบัติการเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ชุมชน ดอนยอ
- กิจกรรมถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
114
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ป่วยประคับประคอง
22
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข (ภายใน 1 - 180 วัน ก่อนสิ้นปีงบประมาณ) เพิ่มขึ้น
2.กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านเพิ่มขึ้น ลดอัตราการเกิดโรค และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
3.ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
4.ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน ลดปัญหาการขาดการดูแลระหว่างรอเข้าสู่ระบบ LTC
- ผู้ป่วยประคับประคองในพื้นที่ได้รับการเยี่ยมและดูแลโดยทีมสุขภาพ
6.เกิดทีมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน ร่วมกับทีมหมอครอบครัวและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการตรวจยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข (ภายใน 1 - 180 วัน ก่อนสิ้นปีงบประมาณ)
2.00
5.00
2
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านเพิ่มขึ้น
6.36
20.00
3
เพื่อเพิ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน
48.00
48.00
4
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน ได้รับการติดตามดูแลสุขภาพ
66.00
66.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
296
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
114
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
ผู้ป่วยประคับประคอง
22
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อเพิ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน (4) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รับสมัครอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ 1วัน (3) ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์คูหาสวรรค์จำนวน 3 วัน (4) ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ท่ามิหรำ จำนวน 3 วัน (5) ฝึกปฏิบัติการเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ชุมชน ดอนยอ (6) กิจกรรมถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L7572-01-010
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปาจรีย์ สงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน ”
ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาจรีย์ สงคง
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L7572-01-010 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 29 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L7572-01-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 29 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 109,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพปัญหาที่พบของผู้พิการ ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและถือว่าเป็น "ภัยเงียบ"เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎ อาการ และเป็นสาหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือดในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและเศรษฐกิจของประชาชนเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังนั้น งานสาธารณสุขมูลฐาน กองสาธารณสุขและสิ่งแแวดล้อมเทศบาลเมืองพัทลุง พัฒนารูปแบบกระบวนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ อันประกอบด้วยการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา การฟื้นฟูสภาพได้ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรค และการดูแลหลังเกิดโรคที่ทำให้เกิดความพิการ และผู้ป่วยประคับประคอง โดยใช้เครือข่ายระหว่าง โรงพยาบาลพัทลุง ศูนย์แพทย์ชุมชน เทศบาลเมืองพัทลุง และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนจะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนื่องยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ และเพื่อแก้ปัญหากลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน งานสาธารณสุขมูลฐาน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังขึ้นมา เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการติดตามประเมินสภาวะสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดระดับความดันโลหิตตามมาตรฐาน การติดตามเข้ารับการรักษา พร้อมทั้งรณรงค์สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดีและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการมีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อเพิ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รับสมัครอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ 1วัน
- ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์คูหาสวรรค์จำนวน 3 วัน
- ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ท่ามิหรำ จำนวน 3 วัน
- ฝึกปฏิบัติการเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ชุมชน ดอนยอ
- กิจกรรมถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 114 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 10 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ป่วยประคับประคอง | 22 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข (ภายใน 1 - 180 วัน ก่อนสิ้นปีงบประมาณ) เพิ่มขึ้น
2.กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านเพิ่มขึ้น ลดอัตราการเกิดโรค และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
3.ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
4.ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน ลดปัญหาการขาดการดูแลระหว่างรอเข้าสู่ระบบ LTC
- ผู้ป่วยประคับประคองในพื้นที่ได้รับการเยี่ยมและดูแลโดยทีมสุขภาพ
6.เกิดทีมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน ร่วมกับทีมหมอครอบครัวและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการตรวจยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข (ภายใน 1 - 180 วัน ก่อนสิ้นปีงบประมาณ) |
2.00 | 5.00 |
|
|
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านเพิ่มขึ้น |
6.36 | 20.00 |
|
|
3 | เพื่อเพิ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน |
48.00 | 48.00 |
|
|
4 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน ได้รับการติดตามดูแลสุขภาพ |
66.00 | 66.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 296 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 114 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 10 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 | ||
ผู้ป่วยประคับประคอง | 22 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อเพิ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพภายในระยะเวลา 6 เดือน (4) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รับสมัครอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ 1วัน (3) ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์คูหาสวรรค์จำนวน 3 วัน (4) ฝึกปฏิบัติงานเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ท่ามิหรำ จำนวน 3 วัน (5) ฝึกปฏิบัติการเพิ่มทักษะในชุมชน โซนศูนย์แพทย์ชุมชน ดอนยอ (6) กิจกรรมถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฝึกอบรมอาสาเฉพาะกิจปฏิบัติการด้านสุขภาพเคลื่อนที่ในชุมชน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L7572-01-010
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปาจรีย์ สงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......