โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางกาศมา นาคกระวัศ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-10 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนอันซอเรียะห์อัดดีนียะห์ เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาของโรงเรียน สาเหตุเนื่องมาจากนักเรียนมีจำนวนมากขึ้น ขยะก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการ ร้านค้าเพิ่มขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการจัดการขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มของจำนวนขยะในแต่ละวัน ซึ่งจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากและเพิ่มขึ้นทุกวัน สร้างปัญหาอย่างมากทั้งในเรื่องทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด มีผลต่อสุขภาวะนักเรียน เกิดปัญหาขยะ ถึงแม้ได้จัดการและแก้ปัญหา แต่ผลลัพธ์ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ประกอบกับนักเรียนยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งการขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ เพราะพอได้ยินคำว่า ขยะ หลายๆคนจะไม่สนใจ ละเลยไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธี ก็สามารถสร้างประโยชน์ได้และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง และยังมีเศษอาหารที่เหลือจากอาหารกลางวันของนักเรียนซึ่งเป็นขยะอินทรีย์ก็สามารถนำมาทำปุ๋ยหมักในการปลูกผักปลอดสารพิษ เพราะปัจจุบันผักที่นำมาใช้ปรุงอาหารในโรงเรียนเป็นผักที่จัดซื้อจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วนใหญ่มีการปนเปื้อนสารเคมี โดยปกติก่อนการปรุง ถึงจะล้างทำความสะอาดอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถชะล้างสารตกค้างออกได้ทั้งหมด ส่งผลให้นักเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากการบริโภคพืชผักที่ไม่ปลอดภัยทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาวหากเด็กรับประทานผักมีสารเคมีปนเปื้อน แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการรณรงค์ส่งเสริมในเรื่องการลดละเลี่ยงเลิกการใช้สารพิษในการเกษตรแต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงชินกับรูปแบบเดิมโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยทางด้านสุขภาพของผู้บริโภคการปลูกพืชผักสวนครัวที่ไร้สารพิษตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดี มีกิจกรรมร่วมกัน สามารถพึ่งพาตนเอง “ปลูกเอง กินเอง” และสามารถดำเนินชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ลดความเสี่ยงจากสารเคมีสะสมในร่างกาย เพื่อให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง จากการได้รับประทานผักปลอดสารพิษในปริมาณที่เพียงพอ ทำให้สุขภาพดีแข็งแรงปลอดจากสารพิษตกค้าง ซึ่งจะส่งผลดีต่อนักเรียน ครู ชุมชน และสิ่งแวดล้อมต่อไป
ดังนั้น โรงเรียนอันซอเรียะห์อัดดีนียะห์ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาขยะ การคัดแยกขยะในโรงเรียน และการปลูกผักปลอดสารเคมี เพิ่มอาหารปลอดภัยให้นักเรียนได้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรียะห์อัดดีนียะห์ เพื่อให้นักเรียน ครู ชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัย ในขณะเดียวกันก็มีสุขภาพจิตที่สดใส ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่ด้วยการร่วมมือร่วมใจกันดำเนินการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ตามหลักการ 3Rs นั่นคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ นำสู่โรงเรียนปลอดขยะตามนโยบายของรัฐบาล และได้นำขยะอินทรีย์มาทำปุ๋ยหมักในการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อเพิ่มอาหารปลอดภัยให้กับนักเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
- เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
- เพื่อเพิ่มผักปลอดสารพิษให้นักเรียนได้บริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประดิษฐ์ของใช้จากขยะรีไซเคิล
- ปลูกผักสวนครัว พืชรั้วกินได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนสามารถลดปริมาณขยะในพื้นที่ และสามารถจัดการนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามวิธีการที่เหมาะสม
2. นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษอย่างพอเพียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
10.00
80.00
2
เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
20.00
80.00
3
เพื่อเพิ่มผักปลอดสารพิษให้นักเรียนได้บริโภค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ได้บริโภคผักปลอดสารพิษอย่างพอเพียง
35.00
95.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (2) เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (3) เพื่อเพิ่มผักปลอดสารพิษให้นักเรียนได้บริโภค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประดิษฐ์ของใช้จากขยะรีไซเคิล (3) ปลูกผักสวนครัว พืชรั้วกินได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกาศมา นาคกระวัศ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางกาศมา นาคกระวัศ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-10 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนอันซอเรียะห์อัดดีนียะห์ เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาของโรงเรียน สาเหตุเนื่องมาจากนักเรียนมีจำนวนมากขึ้น ขยะก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการ ร้านค้าเพิ่มขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการจัดการขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มของจำนวนขยะในแต่ละวัน ซึ่งจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากและเพิ่มขึ้นทุกวัน สร้างปัญหาอย่างมากทั้งในเรื่องทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด มีผลต่อสุขภาวะนักเรียน เกิดปัญหาขยะ ถึงแม้ได้จัดการและแก้ปัญหา แต่ผลลัพธ์ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ประกอบกับนักเรียนยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งการขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ เพราะพอได้ยินคำว่า ขยะ หลายๆคนจะไม่สนใจ ละเลยไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธี ก็สามารถสร้างประโยชน์ได้และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง และยังมีเศษอาหารที่เหลือจากอาหารกลางวันของนักเรียนซึ่งเป็นขยะอินทรีย์ก็สามารถนำมาทำปุ๋ยหมักในการปลูกผักปลอดสารพิษ เพราะปัจจุบันผักที่นำมาใช้ปรุงอาหารในโรงเรียนเป็นผักที่จัดซื้อจากท้องตลาด ซึ่งผักส่วนใหญ่มีการปนเปื้อนสารเคมี โดยปกติก่อนการปรุง ถึงจะล้างทำความสะอาดอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถชะล้างสารตกค้างออกได้ทั้งหมด ส่งผลให้นักเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากการบริโภคพืชผักที่ไม่ปลอดภัยทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาวหากเด็กรับประทานผักมีสารเคมีปนเปื้อน แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการรณรงค์ส่งเสริมในเรื่องการลดละเลี่ยงเลิกการใช้สารพิษในการเกษตรแต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงชินกับรูปแบบเดิมโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยทางด้านสุขภาพของผู้บริโภคการปลูกพืชผักสวนครัวที่ไร้สารพิษตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดี มีกิจกรรมร่วมกัน สามารถพึ่งพาตนเอง “ปลูกเอง กินเอง” และสามารถดำเนินชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ลดความเสี่ยงจากสารเคมีสะสมในร่างกาย เพื่อให้สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง จากการได้รับประทานผักปลอดสารพิษในปริมาณที่เพียงพอ ทำให้สุขภาพดีแข็งแรงปลอดจากสารพิษตกค้าง ซึ่งจะส่งผลดีต่อนักเรียน ครู ชุมชน และสิ่งแวดล้อมต่อไป
ดังนั้น โรงเรียนอันซอเรียะห์อัดดีนียะห์ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาขยะ การคัดแยกขยะในโรงเรียน และการปลูกผักปลอดสารเคมี เพิ่มอาหารปลอดภัยให้นักเรียนได้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรียะห์อัดดีนียะห์ เพื่อให้นักเรียน ครู ชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัย ในขณะเดียวกันก็มีสุขภาพจิตที่สดใส ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่ด้วยการร่วมมือร่วมใจกันดำเนินการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ตามหลักการ 3Rs นั่นคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ นำสู่โรงเรียนปลอดขยะตามนโยบายของรัฐบาล และได้นำขยะอินทรีย์มาทำปุ๋ยหมักในการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อเพิ่มอาหารปลอดภัยให้กับนักเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
- เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
- เพื่อเพิ่มผักปลอดสารพิษให้นักเรียนได้บริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประดิษฐ์ของใช้จากขยะรีไซเคิล
- ปลูกผักสวนครัว พืชรั้วกินได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนสามารถลดปริมาณขยะในพื้นที่ และสามารถจัดการนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามวิธีการที่เหมาะสม
2. นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษอย่างพอเพียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) |
10.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า |
20.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อเพิ่มผักปลอดสารพิษให้นักเรียนได้บริโภค ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ได้บริโภคผักปลอดสารพิษอย่างพอเพียง |
35.00 | 95.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (2) เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (3) เพื่อเพิ่มผักปลอดสารพิษให้นักเรียนได้บริโภค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประดิษฐ์ของใช้จากขยะรีไซเคิล (3) ปลูกผักสวนครัว พืชรั้วกินได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยการคัดแยกขยะและบริโภคอาหารปลอดภัย โรงเรียนอันซอเรี๊ยะห์อัดดีนียะห์ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกาศมา นาคกระวัศ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......