โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปฤษณา สิตะรุโณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-01-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-01-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,351.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อแบบแผนการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กวัยเรียนเป็นอย่างมากการบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพ ทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโภคอาหารประเภทจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งการติดเกมส์ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลง องค์ประกอบเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอ้วนอันตรายของโรคอ้วนในเด็กซึ่งโรคอ้วนในเด็กกำลังเป็นปัญหาสำคัญที่เพิ่มขึ้นในประเทศที่พัฒนาและกำลังพัฒนาดังนั้นการส่งเสริมด้านภาวะโภชนาการให้เด็กวัยเรียนได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ครบถ้วนเหมาะสมตามวัย ทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตที่ดีทั้งร่างกายและสมอง
จากรายงานของระบบ Health Data Center จังหวัดสตูล พบว่าอำเภอเมือง ปีพ.ศ. 2562-2567 พบภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วนเพียง ร้อยละ 52.55 , 55.68 , 49.2 , 44.54 , 45.86 และ 56.48 ตามลำดับ ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (สูงดีสมส่วน≥ ร้อยละ 57 ) มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ 14.36 , 12.11 , 14.06 , 18.11 , 14.9 และ 15.42 ตามลำดับ สูงกว่าค่าเป้าหมาย (เริ่มอ้วนและอ้วน ≤ ร้อยละ 10 ) ซึ่งตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จากรายงาน Health Data Center (HDC) พบว่า ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (6-14 ปี) มีแนวโน้มลดลง ในปีพ.ศ. 2562-2567 เท่ากับ ร้อยละ 58.79 , 56.05 , 49.2 , 46.5 , 45.86 และ 52.96 ตามลำดับซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมาย (ร้อยละ 57) และพบว่ามีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ปีพ.ศ. 2562 - 2567 เกินกว่าเป้าหมาย เท่ากับ ร้อยละ 13.01,11.93 , 12.74 , 14.06 , 16.01 และ 14.34 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10) และมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 10.97 , 17.02 , 7.03 , 4.98 , 5.58 และ 8.54 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 9.5) มีภาวะผอม ร้อยละ 6.91 , 4.59 , 5.37 , 5.67 , 5.83 และ 5.86 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5)
จากสถานการณ์ดังกล่าว กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลสตูล จึงได้จัดทำโครงการเด็กพิมานเท่ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
- อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลหุ่นสวยด้วยตนเองในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน
- อบรมเชิงปฏิบัติการติดตามหนูน้อยอยากผอม
- พัฒนาระบบการส่งต่อเด็กนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
30
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
- ปัญหาภาวะโภชนาการ (อ้วนและเริ่มอ้วน) ลดลง
- มีเครือข่ายเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารผ่านเกณฑ์หลังการอบรบ
0.00
30.00
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของกลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการอบรม(10 คน)
0.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
30
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยเรียน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลหุ่นสวยด้วยตนเองในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการติดตามหนูน้อยอยากผอม (4) พัฒนาระบบการส่งต่อเด็กนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-01-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปฤษณา สิตะรุโณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปฤษณา สิตะรุโณ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-01-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-01-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,351.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อแบบแผนการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กวัยเรียนเป็นอย่างมากการบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพ ทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโภคอาหารประเภทจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งการติดเกมส์ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลง องค์ประกอบเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอ้วนอันตรายของโรคอ้วนในเด็กซึ่งโรคอ้วนในเด็กกำลังเป็นปัญหาสำคัญที่เพิ่มขึ้นในประเทศที่พัฒนาและกำลังพัฒนาดังนั้นการส่งเสริมด้านภาวะโภชนาการให้เด็กวัยเรียนได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ครบถ้วนเหมาะสมตามวัย ทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตที่ดีทั้งร่างกายและสมอง
จากรายงานของระบบ Health Data Center จังหวัดสตูล พบว่าอำเภอเมือง ปีพ.ศ. 2562-2567 พบภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วนเพียง ร้อยละ 52.55 , 55.68 , 49.2 , 44.54 , 45.86 และ 56.48 ตามลำดับ ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (สูงดีสมส่วน≥ ร้อยละ 57 ) มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ 14.36 , 12.11 , 14.06 , 18.11 , 14.9 และ 15.42 ตามลำดับ สูงกว่าค่าเป้าหมาย (เริ่มอ้วนและอ้วน ≤ ร้อยละ 10 ) ซึ่งตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จากรายงาน Health Data Center (HDC) พบว่า ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (6-14 ปี) มีแนวโน้มลดลง ในปีพ.ศ. 2562-2567 เท่ากับ ร้อยละ 58.79 , 56.05 , 49.2 , 46.5 , 45.86 และ 52.96 ตามลำดับซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมาย (ร้อยละ 57) และพบว่ามีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ปีพ.ศ. 2562 - 2567 เกินกว่าเป้าหมาย เท่ากับ ร้อยละ 13.01,11.93 , 12.74 , 14.06 , 16.01 และ 14.34 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10) และมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 10.97 , 17.02 , 7.03 , 4.98 , 5.58 และ 8.54 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 9.5) มีภาวะผอม ร้อยละ 6.91 , 4.59 , 5.37 , 5.67 , 5.83 และ 5.86 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5)
จากสถานการณ์ดังกล่าว กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลสตูล จึงได้จัดทำโครงการเด็กพิมานเท่ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
- อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลหุ่นสวยด้วยตนเองในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน
- อบรมเชิงปฏิบัติการติดตามหนูน้อยอยากผอม
- พัฒนาระบบการส่งต่อเด็กนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย | 30 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
- ปัญหาภาวะโภชนาการ (อ้วนและเริ่มอ้วน) ลดลง
- มีเครือข่ายเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารผ่านเกณฑ์หลังการอบรบ |
0.00 | 30.00 |
|
|
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของกลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการอบรม(10 คน) |
0.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย | 30 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยเรียน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลหุ่นสวยด้วยตนเองในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการติดตามหนูน้อยอยากผอม (4) พัฒนาระบบการส่งต่อเด็กนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาน 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-01-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปฤษณา สิตะรุโณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......