โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) ”
หัวหน้าโครงการ
นายวิสุทธิ์ ทองช่วย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,245.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในวัยประถมศึกษามีความสำคัญต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพในอนาคต โภชนาการที่เหมาะสมเป็นหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย สมอง และสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขและการสำรวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนวัดตะโหมด(หมุนคณานุสรณ์) จำนวน 126 คน พบว่าเด็กนักเรียน จำนวน 32 คน มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ และนักเรียนจำนวน 2 คนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จะเห็นได้ว่านักเรียนบางส่วนยังขาดโภชนาการที่เหมาะสม ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการเกิน ขาดหรือการเติบโตที่ไม่สมส่วน อันเป็นอุปสรรคต่อการเรียนและพัฒนาการด้านอื่น ๆ โรงเรียนวัดตะโหมดตระหนักถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาโภชนาการในกลุ่มเด็กวัยเรียน เพื่อสร้างเสริมพัฒนาการที่สมบูรณ์และลดปัญหาสุขภาพในระยะยาว
ดังนั้น โรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จึงได้กำหนดแนวทางดำเนินโครงการ "โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนวัดตะโหมด(หมุนคณานุสรณ์) โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนได้รับอาหารที่มีคุณภาพและสมดุล รวมถึงปลูกฝังพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีทั้งหมดเพื่อให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงและพร้อมต่อการพัฒนาการเรียนรู้และชีวิตในอนาคต เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กนักเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) มีความรู้และส่งเสริมการเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการแก่เด็กนักเรียน มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูและชุมชนในการส่งเสริมโภชนาการของเด็ก ซึ่งจะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตอย่างแข็งแรง สมส่วนและมีความพร้อมในการเรียนรู้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านโภชนาการและการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้แก่เด็กนักเรียน
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียนให้เลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากขึ้น
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
- ปลูกฝังทักษะการปลูกพืชผักสวนครัวและการเตรียมอาหารที่มีประโยชน์ในชีวิต
- ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักสวนครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
- นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโภชนาการและสามารถเลือกอาหารที่เหมาะสม
- นักเรียนมีพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ดี เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
- ครู ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมส่งเสริมโครงการ เกิดความตระหนักสนับสนุนการบริโภคอาหารทีี่มีคุณค่าทางโภชนาการสำหรับเด็ก
- นักเรียนได้รับการปลูกฝังความรู้ด้านโภชนาการตั้งแต่วัยเด็ก ทำให้มีพื้นฐานที่ดีในการดูแลสุขภาพตนเอง
- โรงเรียนมีแนวทางในการจัดอาหารที่มีประโยชน์ ส่งเสริมการเป็นโรงเรียนต้นแบบด้านโภชนาการที่สามารถขยายผลไปยังโรงเรียนใกล้เคียงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านโภชนาการและการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้แก่เด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถตอบคำถามพื้นฐานเกี่ยวกับโภชนาการและเลือกอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพได้
0.00
2
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียนให้เลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ70 มีพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่ดีขึ้นจากการสังเกตหรือแบบสำรวจ
0.00
3
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 85 มีค่าดัชนีมวลกายและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย
0.00
4
ปลูกฝังทักษะการปลูกพืชผักสวนครัวและการเตรียมอาหารที่มีประโยชน์ในชีวิต
ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถร่วมปลูกและเก็บเกี่ยวพืชผักสวนครัวได้และมีทักษะการเตรียมอาหารอย่างง่าย
0.00
5
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและครูอย่างน้อยร้อยละ 75 มีความพึงพอใจและให้การสนับสนุนโครงการอย่างต่อเนื่อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านโภชนาการและการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้แก่เด็กนักเรียน (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียนให้เลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากขึ้น (3) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน (4) ปลูกฝังทักษะการปลูกพืชผักสวนครัวและการเตรียมอาหารที่มีประโยชน์ในชีวิต (5) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักสวนครัว
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวิสุทธิ์ ทองช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) ”
หัวหน้าโครงการ
นายวิสุทธิ์ ทองช่วย
เมษายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,245.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในวัยประถมศึกษามีความสำคัญต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพในอนาคต โภชนาการที่เหมาะสมเป็นหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย สมอง และสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขและการสำรวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนวัดตะโหมด(หมุนคณานุสรณ์) จำนวน 126 คน พบว่าเด็กนักเรียน จำนวน 32 คน มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ และนักเรียนจำนวน 2 คนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จะเห็นได้ว่านักเรียนบางส่วนยังขาดโภชนาการที่เหมาะสม ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการเกิน ขาดหรือการเติบโตที่ไม่สมส่วน อันเป็นอุปสรรคต่อการเรียนและพัฒนาการด้านอื่น ๆ โรงเรียนวัดตะโหมดตระหนักถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาโภชนาการในกลุ่มเด็กวัยเรียน เพื่อสร้างเสริมพัฒนาการที่สมบูรณ์และลดปัญหาสุขภาพในระยะยาว ดังนั้น โรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จึงได้กำหนดแนวทางดำเนินโครงการ "โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนวัดตะโหมด(หมุนคณานุสรณ์) โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนได้รับอาหารที่มีคุณภาพและสมดุล รวมถึงปลูกฝังพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีทั้งหมดเพื่อให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงและพร้อมต่อการพัฒนาการเรียนรู้และชีวิตในอนาคต เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กนักเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) มีความรู้และส่งเสริมการเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการแก่เด็กนักเรียน มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูและชุมชนในการส่งเสริมโภชนาการของเด็ก ซึ่งจะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตอย่างแข็งแรง สมส่วนและมีความพร้อมในการเรียนรู้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านโภชนาการและการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้แก่เด็กนักเรียน
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียนให้เลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากขึ้น
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
- ปลูกฝังทักษะการปลูกพืชผักสวนครัวและการเตรียมอาหารที่มีประโยชน์ในชีวิต
- ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักสวนครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
- นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโภชนาการและสามารถเลือกอาหารที่เหมาะสม
- นักเรียนมีพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ดี เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
- ครู ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมส่งเสริมโครงการ เกิดความตระหนักสนับสนุนการบริโภคอาหารทีี่มีคุณค่าทางโภชนาการสำหรับเด็ก
- นักเรียนได้รับการปลูกฝังความรู้ด้านโภชนาการตั้งแต่วัยเด็ก ทำให้มีพื้นฐานที่ดีในการดูแลสุขภาพตนเอง
- โรงเรียนมีแนวทางในการจัดอาหารที่มีประโยชน์ ส่งเสริมการเป็นโรงเรียนต้นแบบด้านโภชนาการที่สามารถขยายผลไปยังโรงเรียนใกล้เคียงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านโภชนาการและการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้แก่เด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถตอบคำถามพื้นฐานเกี่ยวกับโภชนาการและเลือกอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพได้ |
0.00 |
|
||
2 | ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียนให้เลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากขึ้น ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ70 มีพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่ดีขึ้นจากการสังเกตหรือแบบสำรวจ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 85 มีค่าดัชนีมวลกายและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามวัย |
0.00 |
|
||
4 | ปลูกฝังทักษะการปลูกพืชผักสวนครัวและการเตรียมอาหารที่มีประโยชน์ในชีวิต ตัวชี้วัด : นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถร่วมปลูกและเก็บเกี่ยวพืชผักสวนครัวได้และมีทักษะการเตรียมอาหารอย่างง่าย |
0.00 |
|
||
5 | ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและครูอย่างน้อยร้อยละ 75 มีความพึงพอใจและให้การสนับสนุนโครงการอย่างต่อเนื่อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านโภชนาการและการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้แก่เด็กนักเรียน (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียนให้เลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากขึ้น (3) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตที่สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน (4) ปลูกฝังทักษะการปลูกพืชผักสวนครัวและการเตรียมอาหารที่มีประโยชน์ในชีวิต (5) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักสวนครัว
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมสร้างโภชนาการเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวิสุทธิ์ ทองช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......