ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอหิหม๊ะ มะแซ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3039-(02)-06 เลขที่ข้อตกลง 004/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3039-(02)-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ในประเทศไทยโรค NCDs เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ อย่างมาก เนื่องจากเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตคนไทย ที่ก่อให้เกิดภาระโรคจากการเสียชีวิตก่อน วัยอันควร ภาวะเจ็บป่วยและทุพพลภาพที่ท าให้ผลิตภาพการท างานลดลงหรือสูญเสียไปที่ส่งผลให้เกิด ความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล พบว่าคนไทยเสียชีวิตจากโรค NCDs 4 โรคหลักดังกล่าว ปีละกว่า 400,000 ราย หรือวันละมากกว่า 1,000 ราย คิดเป็นร้อยละ 81 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดในประเทศโรค NCDs มีสาเหตุเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงหนึ่งปัจจัยหรือร่วมหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม ปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยเสี่ยงทางเมตาบอลิก ข้อมูลรายงานการสำรวจสถานะสุขภาพคนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่าความชุกโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน รวมทั้ง พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรค NCDs มีแนวโน้มสูงขึ้น พบคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 9.5 หรือประมาณ 6.5 ล้านคน โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 25.4 หรือประมาณ 14 ล้านคน ภาวะอ้วน ร้อยละ 42.2 ภาวะ อ้วนลงพุง ร้อยละ 39.4 ภาวะไขมันโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ร้อยละ 23.5 ปัจจุบันจะนำไปสู่การเป็นผู้ป่วยโรค NCDs เพิ่มขึ้นอีกจำนวนมากใน อนาคตอันใกล้ หากปัญหาไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง ซึ่งกลุ่มโรค NCDs อาจเริ่มจากการเป็นเบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง ซึ่งหากเกิดขึ้นแล้วมักจะเป็นเรื้อรัง ตามมาด้วยโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต จากสมองขาดเลือด ตาบอด ไตวาย แผลเรื้อรังที่ขาและเท้าซึ่งนำไปสู่การสูญเสียอวัยวะได้
จากผลการดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรัง (NCDs) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละ 3 ปีย้อนหลังพบว่า มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 66 ราย ,80 ราย และ 70 ราย ซึ่งถือว่ายังมีแนวโน้มที่สูงขึ้น และในปีงบประมาณ 2567มีผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนเส้นเลือดในสมองแตก เป็นผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 1 ราย ทั้งนี้ยังพบปัญหา เมื่อผู้ป่วยมารับบริการในคลินิก ส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ต้องงดน้ำและอาหารเพื่อเจาะระดับน้ำตาลในเลือด จะรีบเร่งในการกลับบ้านโดยไม่ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนกันเรื่องผลการตรวจหรือวิธีการปฏิบัติตัวที่เกี่ยวกับโรค ทำให้ไม่มีเวที/สถานที่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องการปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการชาวตะโละรู้ทันโรคเบาหวาน ความดันโลหิต ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนขึ้น มุ่งหวังเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจ เสริมสร้างแรงบันดาลใจและความตระหนักในการลดการเกิดโรครายใหม่และควบคุมโรคเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามมารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมติดตามเจาะเบาหวานและวัความดันโลหิตสูงหลังอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามมารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 20
20.00
10.00
2
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ ร้อยละ 20
20.00
10.00
3
เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนได้ ร้อยละ 80
80.00
60.00
4
เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเกิดภาวะแทรกซ้อน น้อยกว่า ร้อยละ 10
10.00
5.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
95
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
45
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามมารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง (4) เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมติดตามเจาะเบาหวานและวัความดันโลหิตสูงหลังอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3039-(02)-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรอหิหม๊ะ มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอหิหม๊ะ มะแซ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3039-(02)-06 เลขที่ข้อตกลง 004/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3039-(02)-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ในประเทศไทยโรค NCDs เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ อย่างมาก เนื่องจากเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตคนไทย ที่ก่อให้เกิดภาระโรคจากการเสียชีวิตก่อน วัยอันควร ภาวะเจ็บป่วยและทุพพลภาพที่ท าให้ผลิตภาพการท างานลดลงหรือสูญเสียไปที่ส่งผลให้เกิด ความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล พบว่าคนไทยเสียชีวิตจากโรค NCDs 4 โรคหลักดังกล่าว ปีละกว่า 400,000 ราย หรือวันละมากกว่า 1,000 ราย คิดเป็นร้อยละ 81 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดในประเทศโรค NCDs มีสาเหตุเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงหนึ่งปัจจัยหรือร่วมหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม ปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยเสี่ยงทางเมตาบอลิก ข้อมูลรายงานการสำรวจสถานะสุขภาพคนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่าความชุกโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน รวมทั้ง พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรค NCDs มีแนวโน้มสูงขึ้น พบคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 9.5 หรือประมาณ 6.5 ล้านคน โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 25.4 หรือประมาณ 14 ล้านคน ภาวะอ้วน ร้อยละ 42.2 ภาวะ อ้วนลงพุง ร้อยละ 39.4 ภาวะไขมันโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ร้อยละ 23.5 ปัจจุบันจะนำไปสู่การเป็นผู้ป่วยโรค NCDs เพิ่มขึ้นอีกจำนวนมากใน อนาคตอันใกล้ หากปัญหาไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง ซึ่งกลุ่มโรค NCDs อาจเริ่มจากการเป็นเบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง ซึ่งหากเกิดขึ้นแล้วมักจะเป็นเรื้อรัง ตามมาด้วยโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต จากสมองขาดเลือด ตาบอด ไตวาย แผลเรื้อรังที่ขาและเท้าซึ่งนำไปสู่การสูญเสียอวัยวะได้ จากผลการดำเนินงานในคลินิกโรคเรื้อรัง (NCDs) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละ 3 ปีย้อนหลังพบว่า มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 66 ราย ,80 ราย และ 70 ราย ซึ่งถือว่ายังมีแนวโน้มที่สูงขึ้น และในปีงบประมาณ 2567มีผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนเส้นเลือดในสมองแตก เป็นผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 1 ราย ทั้งนี้ยังพบปัญหา เมื่อผู้ป่วยมารับบริการในคลินิก ส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ต้องงดน้ำและอาหารเพื่อเจาะระดับน้ำตาลในเลือด จะรีบเร่งในการกลับบ้านโดยไม่ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนกันเรื่องผลการตรวจหรือวิธีการปฏิบัติตัวที่เกี่ยวกับโรค ทำให้ไม่มีเวที/สถานที่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องการปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการชาวตะโละรู้ทันโรคเบาหวาน ความดันโลหิต ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนขึ้น มุ่งหวังเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจ เสริมสร้างแรงบันดาลใจและความตระหนักในการลดการเกิดโรครายใหม่และควบคุมโรคเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามมารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมติดตามเจาะเบาหวานและวัความดันโลหิตสูงหลังอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 45 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามมารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 20 |
20.00 | 10.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ ร้อยละ 20 |
20.00 | 10.00 |
|
|
3 | เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนได้ ร้อยละ 80 |
80.00 | 60.00 |
|
|
4 | เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเกิดภาวะแทรกซ้อน น้อยกว่า ร้อยละ 10 |
10.00 | 5.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 95 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 45 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามมารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง (4) เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมติดตามเจาะเบาหวานและวัความดันโลหิตสูงหลังอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลตะโละ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3039-(02)-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรอหิหม๊ะ มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......