โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 ”
ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสัมพันธ์ สุวรรณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568
ที่อยู่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-05-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5230-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue Virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งพบได้ ในทุกกลุ่มอายุ อาการของโรคไข้เลือดออกแม้จะไม่รุนแรง หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนทำให้เสียชีวิตได้ หลังจากได้รับเชื้อจากยุงลายประมาณ 5-8 วัน จะทำให้มี อาการไข้สูงลอย (38.0-40 องศาเซลเซียส) ติดต่อกัน 2-7 วัน หน้าแดง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดเบ้าตา ปวดท้อง อาเจียน เบื่ออาหาร จากนั้นจะเริ่มมีจุดแดงเล็ก ๆ ตามแขน ขา ลำตัว และรักแร้ อาจมีเลือดกำเดาไหล และเลือดออกตามไรฟัน ทั้งนี้ โรคไข้เลือดออกผู้ป่วยจะมีอาการทั่วไปคล้ายเป็นหวัด แต่มักไม่ไอ และไม่มีน้ำมูก โดยโรคไข้เลือดออก มี 4 สายพันธุ์เมื่อติดเชื้อสายพันธุ์ใดแล้วก็จะมีภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์นั้น แต่ก็มีโอกาสที่จะติดเชื้อสายพันธุ์อื่น ๆ ได้อีก ซึ่งการติดเชื้อครั้งที่สองอาจรุนแรงกว่าครั้ง
สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในปี พ.ศ.2567 มีแนวโน้มสูงขึ้น ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 10 กรกฎาคม 2567 พบผู้ป่วยสะสม 44,387 ราย อัตราป่วย 76.12 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยสูงกว่าปีที่ผ่านมา 1 เท่า ณ ช่วงเวลาเดียวกันผู้ป่วยเสียชีวิตยืนยันสะสม 40 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.09 โดยอัตราป่วยตายสูงสุดในกลุ่มอายุ 65 ปี ขึ้นไป การควบคุมยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค โดยดำเนินงานตามมาตราการ3-3-1 ให้มีความครอบคลุทพื้นที่เสี่ยง การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกจึงต้องปรับเปลี่ยน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้อง ช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ในกรณีที่มีการใช้เครื่องพ่นสารเคมีเพื่อควบคุมยุงลาย จำเป็นต้องใช้เครื่องพ่นสารเคมีที่มีคุณสมบัติตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
องค์การบริหารส่วนตำบลเขาพระ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ. 2568 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยการกำจัดยุงลายไม่ให้สามารถไปแพร่เชื้อหรือขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก ซึ่งเป็นวิธีการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อีกทางหนึ่งและในปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล จึงจำเป็นต้องมีการเริ่มดำเนินการให้รวดเร็วให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค โดยทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล แก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จึงจะสามารถแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก กำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยแจกทรายอะเบท ให้กับตัวแทนหมู่บ้าน อสม. โรงเรียน
- รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายร่วมกับชุมชน โรงเรียน
- พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายป้องกันการเกิดโรค ในพื้นที่เสี่ยง เช่น วัด มัสยิด และพ่นหมอกควันในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน และ พ่นหมอกควันในกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในรัศมี 100 เมตร บริเวณรอบๆบ้านที่เกิดโรค
- จัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 1 เครื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันการเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะได้
2ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
3อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเขาพระลดลง
4หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ทุกองค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก กำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยแจกทรายอะเบท ให้กับตัวแทนหมู่บ้าน อสม. โรงเรียน (2) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายร่วมกับชุมชน โรงเรียน (3) พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายป้องกันการเกิดโรค ในพื้นที่เสี่ยง เช่น วัด มัสยิด และพ่นหมอกควันในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน และ พ่นหมอกควันในกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในรัศมี 100 เมตร บริเวณรอบๆบ้านที่เกิดโรค (4) จัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 1 เครื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสัมพันธ์ สุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 ”
ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสัมพันธ์ สุวรรณ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-05-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5230-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue Virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งพบได้ ในทุกกลุ่มอายุ อาการของโรคไข้เลือดออกแม้จะไม่รุนแรง หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนทำให้เสียชีวิตได้ หลังจากได้รับเชื้อจากยุงลายประมาณ 5-8 วัน จะทำให้มี อาการไข้สูงลอย (38.0-40 องศาเซลเซียส) ติดต่อกัน 2-7 วัน หน้าแดง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดเบ้าตา ปวดท้อง อาเจียน เบื่ออาหาร จากนั้นจะเริ่มมีจุดแดงเล็ก ๆ ตามแขน ขา ลำตัว และรักแร้ อาจมีเลือดกำเดาไหล และเลือดออกตามไรฟัน ทั้งนี้ โรคไข้เลือดออกผู้ป่วยจะมีอาการทั่วไปคล้ายเป็นหวัด แต่มักไม่ไอ และไม่มีน้ำมูก โดยโรคไข้เลือดออก มี 4 สายพันธุ์เมื่อติดเชื้อสายพันธุ์ใดแล้วก็จะมีภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์นั้น แต่ก็มีโอกาสที่จะติดเชื้อสายพันธุ์อื่น ๆ ได้อีก ซึ่งการติดเชื้อครั้งที่สองอาจรุนแรงกว่าครั้ง
สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในปี พ.ศ.2567 มีแนวโน้มสูงขึ้น ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 10 กรกฎาคม 2567 พบผู้ป่วยสะสม 44,387 ราย อัตราป่วย 76.12 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยสูงกว่าปีที่ผ่านมา 1 เท่า ณ ช่วงเวลาเดียวกันผู้ป่วยเสียชีวิตยืนยันสะสม 40 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.09 โดยอัตราป่วยตายสูงสุดในกลุ่มอายุ 65 ปี ขึ้นไป การควบคุมยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค โดยดำเนินงานตามมาตราการ3-3-1 ให้มีความครอบคลุทพื้นที่เสี่ยง การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกจึงต้องปรับเปลี่ยน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้อง ช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ในกรณีที่มีการใช้เครื่องพ่นสารเคมีเพื่อควบคุมยุงลาย จำเป็นต้องใช้เครื่องพ่นสารเคมีที่มีคุณสมบัติตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
องค์การบริหารส่วนตำบลเขาพระ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ. 2568 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยการกำจัดยุงลายไม่ให้สามารถไปแพร่เชื้อหรือขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก ซึ่งเป็นวิธีการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อีกทางหนึ่งและในปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล จึงจำเป็นต้องมีการเริ่มดำเนินการให้รวดเร็วให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค โดยทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล แก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จึงจะสามารถแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก กำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยแจกทรายอะเบท ให้กับตัวแทนหมู่บ้าน อสม. โรงเรียน
- รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายร่วมกับชุมชน โรงเรียน
- พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายป้องกันการเกิดโรค ในพื้นที่เสี่ยง เช่น วัด มัสยิด และพ่นหมอกควันในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน และ พ่นหมอกควันในกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในรัศมี 100 เมตร บริเวณรอบๆบ้านที่เกิดโรค
- จัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 1 เครื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันการเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะได้ 2ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม 3อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเขาพระลดลง 4หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ทุกองค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก กำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยแจกทรายอะเบท ให้กับตัวแทนหมู่บ้าน อสม. โรงเรียน (2) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายร่วมกับชุมชน โรงเรียน (3) พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายป้องกันการเกิดโรค ในพื้นที่เสี่ยง เช่น วัด มัสยิด และพ่นหมอกควันในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน และ พ่นหมอกควันในกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในรัศมี 100 เมตร บริเวณรอบๆบ้านที่เกิดโรค (4) จัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 1 เครื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ.2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสัมพันธ์ สุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......