โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางปัทมพร ทองเกลี้ยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-01-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3323-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วยปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ 4 กลุ่มโรคหลักคือโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคทางเดินหายใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรทั่วโลกถึงปีละ 38 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 68 ของการเสียชีวิตข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่าตลอดช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมากลุ่มโรคไม่ติดต่อNCDsเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคนไทยโดยมีคนไทยป่วยเป็นโรคNCDs ถึง 14 ล้านคนเสียชีวิตปีละกว่า 300,000 คนและคาดว่ามีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทุกๆปีซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตก่อนอายุ 70 ปี สะท้อนภาพการสูญเสียจากการตายก่อนวัยอันควรซึ่งถ้าคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจรวมที่เสียไปแล้วนับว่าสูงมากถึงร้อยละ 40 ของมูลค่างบประมาณภาครัฐไทยทั้งหมด (ธีระ วรธนารัตน์ 2561) สำหรับประเทศไทยมีข้อมูลชัดแล้วว่าขณะนี้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตทั้งหมดหรือประมาณ 320,000 คนต่อปีโดยในทุก 1 ชั่วโมงมีผู้เสียชีวิต 37 รายทั้งนี้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่พบมากที่สุดคือโรคหลอดเลือดสมองรองลงมาคือโรคหัวใจขาดเลือด โรคทางเดินหายใจอุดกั้น เบาหวานและความดันโลหิตสูงตามลำดับ(กระทรวงสาธารณสุข ,2561)
จังหวัดพัทลุงพบว่าโรคเบาหวานพบว่าปีงบประมาณ 2564-2566 จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยเบาหวาน 27.351 คน 28,456 คน และ 30,364 คนตามลำดับได้มีการตรวจและควบคุมระดับน้ำตาลในภาพของจังหวัดพัทลุงผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมีแนวโน้มที่ดีขึ้นกล่าวคือปีงบประมาณ 2564-2566 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีคิดเป็นร้อยละ 37.93 ร้อยละ 34.37 และร้อยละ 39.37 ตามลำดับ
ปีงบประมาณ 2567 จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 30 กันยายน 2567 จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 35,693 คนได้รับการตรวจจำนวน 33,522 คนและเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 13,290 คนคิดเป็นร้อยละ 41.22
โรคความดันโลหิตสูง จากข้อมูล HDC พบว่าในปีงบประมาณ 2564-2566 จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่อยู่ในเขตจังหวัดพัทลุงจำนวน63,368 คน 64,039 คน และ 66,114 คน ตามลำดับได้มีการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง และควบคุมระดับความดันโลหิต ในภาพรวมของจังหวัดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันได้ดีมีแนวโน้มขึ้นลง กล่าวคือปีงบประมาณ 2564-2566 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ดีร้อยละ 62.78 ร้อยละ 61.58 และร้อยละ 62.15 ตามลำดับ
ปีงบประมาณ 2567 จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 30 กันยายน 2567 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 69,838คน ได้มีการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง จำนวน 56,638 คน ซึ่งมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 44,428 คน สามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดี คิดเป็นร้อยละ 63.62 ซึ่งเป็นแนวโน้มที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- - เพื่อคัดกรองสุขภาพและค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ต่อโรคเบาหวานและความดัน มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดัน ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 - เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ
- กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงร้อยละ ๙๐
2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ร้อยละ 60
3. อัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4
4.กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย จากการคัดกรองได้รับการการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
5. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย เบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
6.ประชากรสามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
7. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
8. ลดกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
1500.00
90.00
2
- เพื่อคัดกรองสุขภาพและค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ต่อโรคเบาหวานและความดัน มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดัน ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 - เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน
ตัวชี้วัด : -ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงและประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
1500.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1500
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) - เพื่อคัดกรองสุขภาพและค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ต่อโรคเบาหวานและความดัน มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดัน ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 - เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปัทมพร ทองเกลี้ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางปัทมพร ทองเกลี้ยง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-01-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3323-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วยปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ 4 กลุ่มโรคหลักคือโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคทางเดินหายใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรทั่วโลกถึงปีละ 38 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 68 ของการเสียชีวิตข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่าตลอดช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมากลุ่มโรคไม่ติดต่อNCDsเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคนไทยโดยมีคนไทยป่วยเป็นโรคNCDs ถึง 14 ล้านคนเสียชีวิตปีละกว่า 300,000 คนและคาดว่ามีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทุกๆปีซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตก่อนอายุ 70 ปี สะท้อนภาพการสูญเสียจากการตายก่อนวัยอันควรซึ่งถ้าคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจรวมที่เสียไปแล้วนับว่าสูงมากถึงร้อยละ 40 ของมูลค่างบประมาณภาครัฐไทยทั้งหมด (ธีระ วรธนารัตน์ 2561) สำหรับประเทศไทยมีข้อมูลชัดแล้วว่าขณะนี้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตทั้งหมดหรือประมาณ 320,000 คนต่อปีโดยในทุก 1 ชั่วโมงมีผู้เสียชีวิต 37 รายทั้งนี้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่พบมากที่สุดคือโรคหลอดเลือดสมองรองลงมาคือโรคหัวใจขาดเลือด โรคทางเดินหายใจอุดกั้น เบาหวานและความดันโลหิตสูงตามลำดับ(กระทรวงสาธารณสุข ,2561) จังหวัดพัทลุงพบว่าโรคเบาหวานพบว่าปีงบประมาณ 2564-2566 จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยเบาหวาน 27.351 คน 28,456 คน และ 30,364 คนตามลำดับได้มีการตรวจและควบคุมระดับน้ำตาลในภาพของจังหวัดพัทลุงผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมีแนวโน้มที่ดีขึ้นกล่าวคือปีงบประมาณ 2564-2566 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีคิดเป็นร้อยละ 37.93 ร้อยละ 34.37 และร้อยละ 39.37 ตามลำดับ ปีงบประมาณ 2567 จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 30 กันยายน 2567 จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 35,693 คนได้รับการตรวจจำนวน 33,522 คนและเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 13,290 คนคิดเป็นร้อยละ 41.22 โรคความดันโลหิตสูง จากข้อมูล HDC พบว่าในปีงบประมาณ 2564-2566 จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่อยู่ในเขตจังหวัดพัทลุงจำนวน63,368 คน 64,039 คน และ 66,114 คน ตามลำดับได้มีการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง และควบคุมระดับความดันโลหิต ในภาพรวมของจังหวัดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันได้ดีมีแนวโน้มขึ้นลง กล่าวคือปีงบประมาณ 2564-2566 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ดีร้อยละ 62.78 ร้อยละ 61.58 และร้อยละ 62.15 ตามลำดับ ปีงบประมาณ 2567 จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 30 กันยายน 2567 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 69,838คน ได้มีการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง จำนวน 56,638 คน ซึ่งมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 44,428 คน สามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดี คิดเป็นร้อยละ 63.62 ซึ่งเป็นแนวโน้มที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- - เพื่อคัดกรองสุขภาพและค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ต่อโรคเบาหวานและความดัน มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดัน ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 - เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ
- กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงร้อยละ ๙๐ 2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ร้อยละ 60 3. อัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4 4.กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย จากการคัดกรองได้รับการการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส. 5. กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย เบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 6.ประชากรสามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 7. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส. 8. ลดกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง |
1500.00 | 90.00 |
|
|
2 | - เพื่อคัดกรองสุขภาพและค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ต่อโรคเบาหวานและความดัน มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดัน ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 - เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน ตัวชี้วัด : -ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงและประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 |
1500.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1500 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,500 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) - เพื่อคัดกรองสุขภาพและค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย ต่อโรคเบาหวานและความดัน มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดัน ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 - เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลพนางตุง หมูที่ 1,2,3,4,13 ปี2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3323-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปัทมพร ทองเกลี้ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......