โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกรรณิการ์ ปิ่นทองพันธุ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5211-01-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5211-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญที่สุด เนื่องจากการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่ออวัยวะเยื่อบุ
ทุกส่วนของร่างกาย เป็นสาเหตุของโรคภัยไข้เจ็บมากมาย และบั่นทอนสุขภาพของผู้สูบบุหรี่ เป็นหนี่งในปัจจัยหลักของโรคเรื้อรังหลายโรค รวมทั้งโรคมะเร็ง โรคปอด และโรคหลอดเลือดหัวใจ การสูบบุหรี่หนึ่งมวนทำให้อายุสั้นลง
๕-๖ นาที ทั้งนี้ครึ่งหนึ่งของผู้สูบบุหรี่ต่อเนื่องจะตายก่อนวัยอันควรโดยเฉลี่ยประมาณ ๑๕ ปี องค์การอนามัยโลกระบุว่า ๑ ใน ๓ ของโรคมะเร็งทั้งหมดสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่
จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพมากขึ้นโดยเฉพาะเสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มากขึ้น เนื่องจากเป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา อันเป็นผลจากการเจริญเติบโต และเป็นวัยที่ต้องการทดลองและเรียนรู้พฤติกรรมใหม่ ข้อมูลการสูบบุหรี่ของเยาวชนไทย ปี ๒๕๖๒ พบว่า ประชากรไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปสูบบุหรี่ ๑๐.๙๐ ล้านคน (ร้อยละ๒๐.๗๐) อัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายเท่ากับร้อยละ ๔๐.๔๗ เพศหญิง เท่ากับร้อยละ ๒.๐๑ โดยมีผู้สูบบุหรี่ที่เริ่มสูบบุหรี่อายุน้อยที่สุดเพียง ๖ ปี และล่าสุดจากผลการสำรวจ พศ. ๒๕๖๕ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าทุกกลุ่มวัยมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ลดน้อยลงโดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนอายุ ๑๕-๒๔ ปีเริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุยังน้อยค่อนข้างมากกว่ากลุ่มอื่นๆ
จากข้อมูลการคัดกรองการสูบบุหรี่ของประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป อำเภอบางกล่ำ ในปี ๒๕๖๕, ปี ๒๕๖๖ และปี ๒๕๖๗ พบผู้ที่สูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ ๙.๒๗, ๕.๘๖, ๖.๔๓ (จากฐานข้อมูล HDC สสจ.สงขลา) ในส่วนของตำบลบ้านหาร ในปี ๒๕๖๕, ปี ๒๕๖๖ และปี ๒๕๖๗ พบผู้ที่สูบบุหรี่ในกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๒๙, ๒๐.๑๖ และ ๒๑.๑๗ ตามลำดับ ซึ่งมีอัตราการสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังมีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มนักเรียนและเยาวชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหารเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น เพื่อให้เยาวชนอันเป็นกำลังสำคัญของชุมชนมีแนวทาง วิธีการในการป้องกันพฤติกรรมการสูบบุหรี่ มีทักษะการปฏิเสธ สามารถเลือกทางเดินชีวิตที่เหมาะสมในการเผชิญปัญหาต่างๆ ที่อยู่รอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบันและเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นแนวทางในการป้องกันและสกัดกั้นการสูบบุหรี่ระยะยาวในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของการสูบบุหรี่
- เพื่อให้เยาวชนมีทักษะชีวิต ในการป้องกันการสูบบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
102
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ไม่เกิดนักสูบหน้าใหม่ ในพื้นที่ตำบลบ้านหาร
- เพื่อให้เยาวชนในตำบลมีแนวทางในการประยุกต์ใช้แนวคิดทักษะชีวิตเพื่อป้องกันปัญหาในด้านอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในเด็กวัยรุ่นได้ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้เยาวชนมีทักษะชีวิต ในการป้องกันการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
102
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
102
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของการสูบบุหรี่ (2) เพื่อให้เยาวชนมีทักษะชีวิต ในการป้องกันการสูบบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5211-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกรรณิการ์ ปิ่นทองพันธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกรรณิการ์ ปิ่นทองพันธุ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5211-01-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5211-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญที่สุด เนื่องจากการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่ออวัยวะเยื่อบุ
ทุกส่วนของร่างกาย เป็นสาเหตุของโรคภัยไข้เจ็บมากมาย และบั่นทอนสุขภาพของผู้สูบบุหรี่ เป็นหนี่งในปัจจัยหลักของโรคเรื้อรังหลายโรค รวมทั้งโรคมะเร็ง โรคปอด และโรคหลอดเลือดหัวใจ การสูบบุหรี่หนึ่งมวนทำให้อายุสั้นลง
๕-๖ นาที ทั้งนี้ครึ่งหนึ่งของผู้สูบบุหรี่ต่อเนื่องจะตายก่อนวัยอันควรโดยเฉลี่ยประมาณ ๑๕ ปี องค์การอนามัยโลกระบุว่า ๑ ใน ๓ ของโรคมะเร็งทั้งหมดสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่
จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพมากขึ้นโดยเฉพาะเสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มากขึ้น เนื่องจากเป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา อันเป็นผลจากการเจริญเติบโต และเป็นวัยที่ต้องการทดลองและเรียนรู้พฤติกรรมใหม่ ข้อมูลการสูบบุหรี่ของเยาวชนไทย ปี ๒๕๖๒ พบว่า ประชากรไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปสูบบุหรี่ ๑๐.๙๐ ล้านคน (ร้อยละ๒๐.๗๐) อัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายเท่ากับร้อยละ ๔๐.๔๗ เพศหญิง เท่ากับร้อยละ ๒.๐๑ โดยมีผู้สูบบุหรี่ที่เริ่มสูบบุหรี่อายุน้อยที่สุดเพียง ๖ ปี และล่าสุดจากผลการสำรวจ พศ. ๒๕๖๕ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าทุกกลุ่มวัยมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ลดน้อยลงโดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนอายุ ๑๕-๒๔ ปีเริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุยังน้อยค่อนข้างมากกว่ากลุ่มอื่นๆ
จากข้อมูลการคัดกรองการสูบบุหรี่ของประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป อำเภอบางกล่ำ ในปี ๒๕๖๕, ปี ๒๕๖๖ และปี ๒๕๖๗ พบผู้ที่สูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ ๙.๒๗, ๕.๘๖, ๖.๔๓ (จากฐานข้อมูล HDC สสจ.สงขลา) ในส่วนของตำบลบ้านหาร ในปี ๒๕๖๕, ปี ๒๕๖๖ และปี ๒๕๖๗ พบผู้ที่สูบบุหรี่ในกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๒๙, ๒๐.๑๖ และ ๒๑.๑๗ ตามลำดับ ซึ่งมีอัตราการสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังมีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มนักเรียนและเยาวชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหารเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น เพื่อให้เยาวชนอันเป็นกำลังสำคัญของชุมชนมีแนวทาง วิธีการในการป้องกันพฤติกรรมการสูบบุหรี่ มีทักษะการปฏิเสธ สามารถเลือกทางเดินชีวิตที่เหมาะสมในการเผชิญปัญหาต่างๆ ที่อยู่รอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบันและเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นแนวทางในการป้องกันและสกัดกั้นการสูบบุหรี่ระยะยาวในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของการสูบบุหรี่
- เพื่อให้เยาวชนมีทักษะชีวิต ในการป้องกันการสูบบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 102 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ไม่เกิดนักสูบหน้าใหม่ ในพื้นที่ตำบลบ้านหาร
- เพื่อให้เยาวชนในตำบลมีแนวทางในการประยุกต์ใช้แนวคิดทักษะชีวิตเพื่อป้องกันปัญหาในด้านอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในเด็กวัยรุ่นได้ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของการสูบบุหรี่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้เยาวชนมีทักษะชีวิต ในการป้องกันการสูบบุหรี่ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 102 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 102 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของการสูบบุหรี่ (2) เพื่อให้เยาวชนมีทักษะชีวิต ในการป้องกันการสูบบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ของเยาวชนในตำบลบ้านหาร ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5211-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกรรณิการ์ ปิ่นทองพันธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......