กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนสุขภาพดี (Wellness District Health) ”
ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวยุฑามาส วันดาว




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนสุขภาพดี (Wellness District Health)

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5211-01-03 เลขที่ข้อตกลง 06/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนสุขภาพดี (Wellness District Health) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนสุขภาพดี (Wellness District Health)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนสุขภาพดี (Wellness District Health) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5211-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้ประชาชน คนไทยใช้ชีวิตแบบรีบเร่งและแข่งขันมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการทำงานเพื่อหารายได้มาตอบสนองต่อความต้องการ สร้างให้เกิดความเครียดและไม่ใส่ใจในการดูแลด้านสุขภาพที่ถูกต้องนำมาซึ่งพฤติกรรมบางอย่างที่ส่งผลกระทบทางด้านลบต่อสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารนอกบ้าน ทำให้พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนไป นิยมบริโภคโปรตีนและไขมันสูง และนิยมซื้ออาหารสำเร็จรูปหรือกึ่งสำเร็จรูปรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ นิยมบริโภคเนื้อสัตว์ ขาดการ ออกกำลังกายการสูบบุหรี่การดื่มสุรามากเกินไป พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ดังกล่าวส่งผลถึงปัญหาสุขภาพและภาวการณ์เกิดโรคเรื้อรังหลายชนิดที่สำคัญตามมา ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด อัมพาต อัมพฤกษ์ ภาวะวิตกกังวลและความเครียด รวมถึงโรคมะเร็ง ซึ่งโรคหรืออาการต่างๆ ดังกล่าว เป็นโรคหรืออาการเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของประเทศ และมีแนวโน้มของปัญหาที่รุนแรงมากขึ้น อีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากสารเคมี โดยในอำเภอบางกล่ำมีสถานประกอบการที่มีการใช้สารเคมีอันตรายประมาณ 20 แห่ง นอกจากสารเคมีในภาคอุตสาหกรรมแล้ว สารกำจัดศัตรูพืชก็เป็นปัจจัยสำคัญในการผลิตทางการเกษตร เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงในเรื่องของความเสียหายจากศัตรูพืช ทำให้ผลผลิตทางเกษตรกรรมเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะคุณภาพและความสวยงามของสินค้า ซึ่งผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ แต่การใช้สารเคมีทางการเกษตรก็มีโทษเช่นเดียวกัน โดยการใช้สารเคมีแต่ละครั้ง หากใช้ไม่ถูกวิธีหรือป้องกันไม่เพียงพอ ก็จะทำให้สารพิษเข้าสู่ร่างกายและเกิดการสะสมในระยะยาว จนเมื่อสะสมในปริมาณมากพอก็จะแสดงอาการออกมา อีกทั้งยังทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภคในวงกว้าง (Christos A. Damalas and Ilis G.Eleftherohorinos, 2011,p.1403) การเจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีเพื่อกำจัดศัตรูพืชไม่เพียงส่งผลกระทบทางสุขภาพของเกษตรกรเฉพาะเพียงกลุ่มเดียว แต่ยังส่งผลกระทบต่อกลุ่มผู้บริโภคอีกด้วย รวมถึงสารเคมีทางการเกษตรนอกจากจะปนเปื้อนในพืช ผัก ผลไม้ และยังเกิดการสะสมในสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเมืองต้นแบบสุขภาพ (Healthy Cities MODELs) “เมืองสุขภาพดี วิถีชุมชน คนอายุยืน” โดยแนวคิดเมืองสุขภาพดี คือเมืองที่เอื้อให้ผู้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี จากสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ตอบสนองความต้องการพื้นฐาน เปิดโอกาสให้คนมีปฏิสัมพันธ์จากการทำกิจกรรมร่วมกัน ซึ่ง Healthy Cities MODELs ประกอบด้วย 7 ดี คือ กินดี อยู่ดี อารมณ์ดี สติปัญญาดี สิ่งแวดล้อมดี สังคมดี และระบบบริการสุขภาพที่ดี เพื่อให้งานด้านสาธารณสุขเข้าถึงชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิต ลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน ลดการเจ็บป่วยด้วยโรค NCDs และรองรับประชากรสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนประชาชนทั่วไปในพื้นที่ให้เข้ามามีส่วนร่วมและตระหนักในการแก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา ก่อให้เกิดการพัฒนาจนสามารถพึ่งพาตนเองได้แบบยั่งยืน สนับสนุนให้เกิดแกนนำเครือข่ายรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในชุมชนโดยเริ่มต้นจากตนเองในการเปลี่ยนแปลงและมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการดำเนินชีวิตและจะได้นำองค์ความรู้ไปปรับใช้ให้คนในครอบครัวและชุมชนมีสุขภาพดีบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนแบบยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาสู่เมืองต้นแบบ (Healthy Cities MODELs)
  2. เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับประชาชนในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ การใช้สารเคมี และภัยสุขภาพจากสารเคมี
  3. เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัย การผลิตเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดสารพิษ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดพื้นที่ต้นแบบดำเนินงานตามเกณฑ์“เมืองสุขภาพดี วิถีชุมชน คนอายุยืน” ประชาชนเป้าหมายในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด ร้อยละ 100
    2. ประชาชน เกษตรกร มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสารเคมีต้องห้ามตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขและการล้างผัก ผลไม้เพื่อลดสารปนเปื้อนที่ถูกวิธี
    3. เกิดแหล่งเรียนรู้เส้นทางสุขภาพในชุมชน และสามารถพัฒนาสู่พื้นที่ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในอนาคต และ เกิดต้นแบบ Healthy city Model

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาสู่เมืองต้นแบบ (Healthy Cities MODELs)
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับประชาชนในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ การใช้สารเคมี และภัยสุขภาพจากสารเคมี
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัย การผลิตเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดสารพิษ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสู่เมืองต้นแบบ (Healthy Cities MODELs) (2) เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับประชาชนในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ การใช้สารเคมี และภัยสุขภาพจากสารเคมี (3) เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัย การผลิตเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดสารพิษ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนสุขภาพดี (Wellness District Health) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 68-L5211-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวยุฑามาส วันดาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด