กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัยเรียน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวยุฑามาส วันดาว




ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5211-01-04 เลขที่ข้อตกลง 07/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยเรียน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยเรียน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5211-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นและเยาวชนเป็นประเด็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสำคัญองค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ตัวชี้วัดที่ 3.7 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งจากข้อมูลอัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปีต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี พันคน ลดลงจาก 1.4 ต่อพันคน ในปี พ.ศ. 2559 เป็น 0.85 ต่อพันคน (HDC Q 1 ณ 16 มี.ค.66) ในปี พ.ศ. 2566 โดยสถานการณ์การคลอดมีชีพ ของประเทศไทยตั้งแต่มีการบังคับใช้ พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ. 2560-2569 ตาม พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 จนปัจจุบัน
จากการเก็บข้อมูลของกรมอนามัยพบปัญหาว่า 1. วัยรุ่นขาดความรอบรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต
2. วัยรุ่นไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการได้ อย่างแท้จริง รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในด้านทัศนคติของผู้ให้บริการวัยรุ่น
3. ความพร้อมในการให้บริการของสถานบริการยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะบริการที่เกี่ยวกับการยุติ การตั้งครรภ์ภายใต้กฎหมาย ทั้งนี้แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ระยะ 3 ปี (ปีงบประมาณ 2566-2568) ภายใต้ แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ. 2560-2570 ตาม พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ซึ่งได้ยึดวิสัยทัศน์ของแผน คือ “วัยรุ่นมีความรู้ด้านเพศวิถีศึกษา มีทักษะชีวิตที่ดีสามารถเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตร เป็นส่วนตัว รักษาความลับ และได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาค” มุ่งสู่เป้าหมายสำคัญ ได้แก่ 1) อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปีจากเดิม ไม่เกิน 25 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน เป็น ไม่เกิน 15 ต่อ 1,000 คน ภายในปี 2570 2) คงค่าเป้าหมาย อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี ไว้ที่ไม่เกิน 0.5 ต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี 1,000 คน ภายในปี 2570 จากข้อมูลข้างต้นผู้จัดทำโครงการได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในการแก้ปัญหาดังกล่าว เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลบ้านหารได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เช่น ปัญหาการดูแลสุขภาพอนามัยที่เหมาะสม ปัญหาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ ปัญหาการคบเพื่อน การเตรียมความพร้อมเพื่อการพัฒนาทักษะในการดูแลตนเอง จะช่วยสร้างความตระหนักและปลูกจิตสำนึกให้แก่วัยรุ่น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีผลต่อสุขภาพได้ ช่วยให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปรับตัวให้ผ่านภาวะวิกฤต และก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ได้อย่างมีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชน ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ในวัยเรียน
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายแกนนำเด็กและเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
    2. เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ
    3. วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ เพศศึกษามากขึ้น
    4. วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชน ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ในวัยเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายแกนนำเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชน ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ในวัยเรียน (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (3) เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายแกนนำเด็กและเยาวชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวัยเรียน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 68-L5211-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวยุฑามาส วันดาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด