กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง หมู่ที่ ๑ บ้านทุ่งเลียบ ”
บ้านทุ่งเลียบ ม.1 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางประกายดาว สุนทร




ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง หมู่ที่ ๑ บ้านทุ่งเลียบ

ที่อยู่ บ้านทุ่งเลียบ ม.1 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5275-02-001 เลขที่ข้อตกลง 06

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง หมู่ที่ ๑ บ้านทุ่งเลียบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านทุ่งเลียบ ม.1 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง หมู่ที่ ๑ บ้านทุ่งเลียบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง หมู่ที่ ๑ บ้านทุ่งเลียบ " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านทุ่งเลียบ ม.1 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5275-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,582.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านมเป็นปัญหาสำคัญที่คุกคามสุขภาพของสตรีไทยในปัจจุบัน มีอัตราป่วยและอัตราตายสูงขึ้นทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2566 พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ประมาณ 310,720 ราย/ปี ส่วนในประเทศไทย ปี 2565 พบว่าหญิงไทยเป็นมะเร็งเต้านม จำนวน 38,559 ราย/ปี และพบมากเป็นอันดับ 1 ของมะเร็งในผู้หญิง แสดงให้เห็นว่าโรคมะเร็งเต้านมเป็นภัยเงียบใกล้ตัว เนื่องจากในระยะแรกของการเป็นมะเร็งเต้านมจะไม่แสดงอาการ ไม่เจ็บ ไม่ปวด จะปรากฏอาการผิดปกติให้เห็น เมื่ออยู่ในระยะที่ก้อนมะเร็งมีการอักเสบ และลุกลามไปทั่วแล้ว ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงมาก ข้อมูลสถิติของหมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ อ้างอิงจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลทุ่งตำเสา ณ วันที่19 มกราคม 2568มีจำนวนประชากรเพศหญิง972 คน อายุ30ปีขึ้นไป 559 คน แบ่งอายุระหว่าง 30-70ปีจำนวน 471 คน และ อายุ 70 ปีขึ้นไปจำนวน 88คน (เป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านม 12 คนอายุระหว่าง 30-70ปี ) ซึ่งเป็นเปอร์เซ็นต์ที่สูง การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมประกอบด้วย 3 วิธี 1) การตรวจคัดกรองด้วยตนเอง (BSE) เริ่มตรวจได้เมื่ออายุ 20 ปีขึ้นไป โดยควรตรวจคัดกรองด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน 2) การตรวจโดยบุคลากรทางการแพทย์ (CBE) 3) การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammography) แม้ว่าการตรวจเต้านมด้วยเครื่องเอกซเรย์จะเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุด แต่การให้บริการยังไม่สามารถครอบคลุมถึงกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งการตรวจเต้านมได้ด้วยตนเองนั้นสามารถพบความผิดปกติได้ตั้งแต่เนิ่น ๆ หากได้รับการวินิจฉัยและรักษาตั้งแต่ระยะแรก จะสามารถรักษาให้หายขาดได้ถึงร้อยละ 80และเพิ่มโอกาสการรอดชีวิตของผู้ป่วยให้สูงขึ้น ดังนั้นทางชมรมรักษ์ทุ่งเลียบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและอันตรายของโรคมะเร็งเต้านม จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมแก่ สตรีไทยอายุ 30 ปีขึ้นไป ในชุมชนบ้านทุ่งเลียบ หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาเพื่อให้สตรีในชุมชมได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและอันตรายของโรคมะเร็งเต้านม สามารถลดความเสี่ยง หันมาใส่ใจดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี และได้รับการตรวจคัดกรองโดยแพทย์ที่มีความชำนาญ จะช่วยให้ค้นหาโรคมะเร็งเต้านมได้ในระยะเริ่มต้น ทำให้สามารถรักษาให้หายได้ และเพิ่มโอกาสการรอดชีวิตของผู้ป่วย โดยเน้นเรื่องการป้องกันดีกว่าการรักษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ๒.เพื่อตรวจคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งเต้านมโดยศัลยแพทย์ / รังสีแพทย์
  3. ๓.เพื่อให้กลุ่มที่มีอาการได้รับการส่งต่อตามสิทธิ์การรักษา โดยแพทย์เฉพาะทางต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.ประชุมคณะทำงาน
  2. ๒.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ
  3. ๓.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม
  4. 4.บรรยายให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งเต้านม โดยแพทย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง 2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งเต้านมโดยศัลยแพทย์ 3.ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีอาการได้รับการส่งต่อตามสิทธิ์การรักษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ๒.เพื่อตรวจคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งเต้านมโดยศัลยแพทย์ / รังสีแพทย์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ๓.เพื่อให้กลุ่มที่มีอาการได้รับการส่งต่อตามสิทธิ์การรักษา โดยแพทย์เฉพาะทางต่อไป
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) ๒.เพื่อตรวจคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งเต้านมโดยศัลยแพทย์ / รังสีแพทย์ (3) ๓.เพื่อให้กลุ่มที่มีอาการได้รับการส่งต่อตามสิทธิ์การรักษา โดยแพทย์เฉพาะทางต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.ประชุมคณะทำงาน (2) ๒.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ (3) ๓.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม (4) 4.บรรยายให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็งเต้านม โดยแพทย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านม และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง หมู่ที่ ๑ บ้านทุ่งเลียบ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5275-02-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประกายดาว สุนทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด