โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว ”
ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวทิพวรรณ ธนธัญกิตติคุณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว
ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-02-03 เลขที่ข้อตกลง 013/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2568 ถึง 4 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4120-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤษภาคม 2568 - 4 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคเหาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบได้บ่อยในโรงเรียนประถมศึกษา โดยเฉพาะในเด็กอายุ 6-12 ปี การติดเหาไม่เพียงส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพจิตและการเรียนรู้ของนักเรียนอีกด้วย เด็กที่มีเหาอาจรู้สึกอับอาย ขาดความมั่นใจ และมีปัญหาในการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน นอกจากนี้อาการคันศีรษะยังรบกวนสมาธิในการเรียน ส่งผลให้ประสิทธิภาพการเรียนรู้ลดลง
จากการสำรวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนของเรา พบว่ามีนักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาเหา ทั้งในนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย สาเหตุสำคัญของการแพร่ระบาดของเหาในโรงเรียนเกิดจากพฤติกรรมการใช้ของส่วนตัวร่วมกันของนักเรียน เช่น ผ้าละหมาด หวี และอุปกรณ์แต่งผม รวมถึงการติดต่อระหว่างพี่น้องที่อาศัยอยู่ในครอบครัวเดียวกัน ซึ่งมักมีการใช้ชีวิตและทำกิจกรรมร่วมกันอย่างใกล้ชิด ทำให้เกิดการแพร่กระจายของเหาได้ง่าย
ดังนั้น โรงเรียนบ้านวังศิลา จึงได้จัดทำโครงการ "ชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว" ขึ้น โดยมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ผ่านการให้ความรู้ การป้องกัน และการรักษาที่ถูกวิธี โดยคำนึงถึงวิถีชีวิตของนักเรียน รวมถึงการสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการป้องกันการติดเหา และสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักเรียน
โครงการนี้จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียน ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเหาในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี อันจะนำไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้และการเติบโตอย่างมีคุณภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
- เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง
- เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี
- เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา
- เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนใ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจและคัดกรอง
- กิจกรรมให้ความรู้
- กิจกรรมกำจัดเหา
- กิจกรรมติดตามผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
42
กลุ่มวัยทำงาน
22
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
- เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง
- เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี
- เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา
- เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนให้น้อยกว่าร้อยละ 10
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียน มีความเข้าใจเรื่องแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหา
80.00
2
เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน มีความเข้าใจเรื่อง การดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง
80.00
3
เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน มีความเข้าใจเรื่อง การป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี
80.00
4
เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา
ตัวชี้วัด : ครู และผู้ปกครองร่วมกันการแก้ไขปัญหาเหา เช่น การร่วมกันดูแลความสะอาด และกำจัดเหาอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
70.00
5
เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนใ
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่ติดเหามีน้อยกว่า ร้อยละ 10
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
64
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
42
กลุ่มวัยทำงาน
22
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (2) เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี (4) เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา (5) เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนใ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจและคัดกรอง (2) กิจกรรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมกำจัดเหา (4) กิจกรรมติดตามผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวทิพวรรณ ธนธัญกิตติคุณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว ”
ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวทิพวรรณ ธนธัญกิตติคุณ
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-02-03 เลขที่ข้อตกลง 013/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2568 ถึง 4 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4120-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤษภาคม 2568 - 4 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคเหาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบได้บ่อยในโรงเรียนประถมศึกษา โดยเฉพาะในเด็กอายุ 6-12 ปี การติดเหาไม่เพียงส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพจิตและการเรียนรู้ของนักเรียนอีกด้วย เด็กที่มีเหาอาจรู้สึกอับอาย ขาดความมั่นใจ และมีปัญหาในการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน นอกจากนี้อาการคันศีรษะยังรบกวนสมาธิในการเรียน ส่งผลให้ประสิทธิภาพการเรียนรู้ลดลง จากการสำรวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนของเรา พบว่ามีนักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาเหา ทั้งในนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย สาเหตุสำคัญของการแพร่ระบาดของเหาในโรงเรียนเกิดจากพฤติกรรมการใช้ของส่วนตัวร่วมกันของนักเรียน เช่น ผ้าละหมาด หวี และอุปกรณ์แต่งผม รวมถึงการติดต่อระหว่างพี่น้องที่อาศัยอยู่ในครอบครัวเดียวกัน ซึ่งมักมีการใช้ชีวิตและทำกิจกรรมร่วมกันอย่างใกล้ชิด ทำให้เกิดการแพร่กระจายของเหาได้ง่าย ดังนั้น โรงเรียนบ้านวังศิลา จึงได้จัดทำโครงการ "ชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว" ขึ้น โดยมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ผ่านการให้ความรู้ การป้องกัน และการรักษาที่ถูกวิธี โดยคำนึงถึงวิถีชีวิตของนักเรียน รวมถึงการสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการป้องกันการติดเหา และสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักเรียน โครงการนี้จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียน ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเหาในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี อันจะนำไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้และการเติบโตอย่างมีคุณภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
- เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง
- เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี
- เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา
- เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนใ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจและคัดกรอง
- กิจกรรมให้ความรู้
- กิจกรรมกำจัดเหา
- กิจกรรมติดตามผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 42 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 22 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
- เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง
- เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี
- เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา
- เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนให้น้อยกว่าร้อยละ 10
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียน มีความเข้าใจเรื่องแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหา |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน มีความเข้าใจเรื่อง การดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน มีความเข้าใจเรื่อง การป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี |
80.00 |
|
||
4 | เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา ตัวชี้วัด : ครู และผู้ปกครองร่วมกันการแก้ไขปัญหาเหา เช่น การร่วมกันดูแลความสะอาด และกำจัดเหาอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน |
70.00 |
|
||
5 | เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนใ ตัวชี้วัด : นักเรียนที่ติดเหามีน้อยกว่า ร้อยละ 10 |
10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 64 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 42 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 22 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาการระบาดของเหาในนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (2) เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการดูแลรักษาความสะอาดของเส้นผมและศีรษะที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และครูมีความรู้เรื่องการป้องกันและกำจัดเหาอย่างถูกวิธี (4) เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเหา (5) เพื่อลดอัตราการติดเหาในนักเรียนใ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจและคัดกรอง (2) กิจกรรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมกำจัดเหา (4) กิจกรรมติดตามผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาววังศิลาไร้เหา สบายหัว จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวทิพวรรณ ธนธัญกิตติคุณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......