โครงการพัฒนาการจัดการสุขภาพของประชาชนตำบลยะหาเพื่อห่างไกล NCDs ปี2568
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาการจัดการสุขภาพของประชาชนตำบลยะหาเพื่อห่างไกล NCDs ปี2568 |
รหัสโครงการ | 68-L4150-01-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ |
วันที่อนุมัติ | 22 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 22 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 27,240.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางกรรณิการ์ เหละดุหวี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 67 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 291 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 235 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงคุมระดับความดันได้ไม่ดี | 51.62 | ||
2 | ร้อยละของผู้ป่วยของเบาหวานคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี | 64.58 | ||
3 | ร้อยละการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต | 10.60 | ||
4 | ร้อยละการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมอง | 1.97 | ||
5 | เกิดผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ | 11.00 | ||
6 | เกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ | 33.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่วนใหญ่ไม่ทำให้สูญเสียชีวิตทันที แต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง เกิด ความสูญเสียทั้งทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมี ภาวะแทรกซ้อน ทำ ให้เกิดข้อจำกัดด้าน ความสามารถหรือมีความพิการหรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร สิ่งเหล่านี้เกิดจากพฤติกรรมทั้งสิ้น คลินิก NCDของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตา บลบ้านลากอมีผู้ป่ วยความดันโลหิตสูง 405 ราย สามารถ ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 48.38 ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 51.62 เกิด ภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 10.60 ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมองจา นวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.97 โรคหลอดเลือดหัวใจ 2 รายคิดเป็นร้อยละ 0.48 และมีผู้ป่ วยเบาหวาน จา นวน 147 ราย สามารถควบคุมระดับ น้า ตาลในเลือดร้อยละ 35.42 ไม่สามารถคุมระดับน้า ตาลในเลือดได้ ร้อยละ 64.58 ผู้ป่ วยเบาหวานรายใหม่ 12 ราย ผู้ป่ วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 33 ราย จากข้อมูลจานวนรายใหม่ของความดันโลหิตสูงและเบาหวานมี เพิ่มขึ้นทุกๆปี ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพที่ดีแบบยึดหลักผู้ป่ วยเป็ นศูนย์กลางพร้อมส่งเสริมให้เกิดการดูแลสุขภาพ ตนเองที่เหมาะสมและมีคุณภาพสร้างความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง(Health Literacy Program) ปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อที่สาคัญต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาเพื่อสร้างความรอบรู้ในการ จัดการสุขภาพ 1.ร้อยละ100ของแกนนำจิตอาสาเข้ารับการพัฒนาศักยภาพในการ จัดการสุขภาพ |
67.00 | 1.00 |
2 | เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 40ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 60ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี |
146.00 | 1.00 |
3 | เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรครายใหม่ ร้อยละ 90 การตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3ส 3อ.1น |
335.00 | 1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 27,240.00 | 0 | 0.00 | |
3 - 7 ก.พ. 68 | จัดบริการคลินิกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงวิถีใหม่ เพื่อตอบสนองต่อการจัดการสุขภาพ | 0 | 0.00 | - | ||
18 มี.ค. 68 | พัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาประจำหมู่บ้านในการจัดการสุขภาพเพื่อเป็นพี่เลี้ยง ผู้ดูแลที่คอยช่วยดูแล ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง | 0 | 8,500.00 | - | ||
22 เม.ย. 68 | จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ดีผ่านโปรแกรม Healthy DM | 0 | 9,590.00 | - | ||
29 เม.ย. 68 | จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้สุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงผ่านโปรแกรม Pre DM Remission | 0 | 9,150.00 | - |
1.กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้และนำไปปฏิบัติ ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
2 .กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขภาพ และจัดการสุขภาพของตนเอง
3. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นผู้ป่วยรายใหม่ลดลดลงจากปีก่อน
4. กลุ่มป่วยมีการควบคุมระดับความดันและน้ำตาลดีขึ้นจากปีก่อนและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2568 00:00 น.