กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอาหารดีเพื่อสุขภาพ ”
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางปารณีย์ ยิ่งดำนุ่น




ชื่อโครงการ โครงการอาหารดีเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ โรงเรียนอนุบาลควนขนุน ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3318-02-2 เลขที่ข้อตกลง 2/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารดีเพื่อสุขภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนอนุบาลควนขนุน ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารดีเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารดีเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนอนุบาลควนขนุน ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3318-02-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามหลักของการพัฒนาสุขภาพ สุขภาพของประชาชนถือเป็นสำคัญ อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตที่ส่งผลต่อสุขภาพของทุกคนที่นอกจากรสชาติที่ดี ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารและประโยชน์ที่ได้รับ ในยุคปัจจุบันมีอาหารมากมายหลายอย่างที่ผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภค โดยเฉพาะเด็กนักเรียน มักบริโภคขนมหรืออาหารที่ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการซึ่งอาหารบางอย่างนั้นก่อให้เกิดโรค เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน ความดัน และโรคอื่นๆอีกมากมาย การที่จะให้ประชาชน มีสุขภาพที่ดีไม่เจ็บป่วย จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ควรให้การสนับสนุน ดูแล เฝ้าระวัง และป้องกันให้ประชาชนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่า ดังนั้นผู้ประกอบอาหารควรตระหนักถึงความสำคัญของอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีการปรุงจากวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัย เน้นวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษและรู้ที่มาของวัตถุดิบนั้น โรงเรียนอนุบาลควนขนุน ตั้งอยู่ในชุมชนบ้านใสยาว ซึ่งมีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ผลิตข้างสังข์หยดอินทรีย์ซึ่งถือเป็นข้าวที่ปลอดสารเคมีในการผลิต ทางโรงเรียนได้นำนักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ดังกล่าว เห็นว่า ข้าวสังข์หยดมีประโยชน์ต่อร่างกาย สามารถป้องกันโรคต่างๆได้ จึงมีความคิดที่จะนำข้าวสังข์หยดมาหุงให้นักเรียนบริโภค โครงการอาหารกลางวันให้นักเรียน โดยการทดลอง หุงข้าวสังข์หยด เมนูอาหารเดียวกัน ปรากฏว่า ข้าว เหลือเยอะมาก แสดงว่านักเรียนไม่ชอบรับประทานข้าวสังข์หยด แต่หุงข้าวตามท้องตลาด เมนูอาหารเดียวกัน นักเรียนรับประทานหมด เป็นข้อเปรียบเทียบว่า นักเรียนไม่เห็นคุณค่าของการเลือกบริโภคอาหาร ดังนั้นทางผู้รับผิดชอบโครงการเห็นว่าในชีวิตประจำวัน นักเรียนส่วนใหญ่ชอบที่จะกินขนมกรอบๆ จึงคิดที่จะนำข้าวสังข์หยดมาแปรรูปเป็นขนมและมีวัตถุดิบร่วมกับผลไม้ขนุน ซึ่งขนุนเป็นพืชในท้องถิ่นที่หาได้ทุกฤดูกาลมีประโยชน์ต่อร่างกาย แล้วนำมาจำหน่ายในร้านค้าสวัสดิการ จะทำให้นักเรียนตระหนักเห็นคุณค่าได้รับประโยชน์จาการบริโภคข้าวสังข์หยด จึงได้เสนอโครงการอาหารดีเพื่อสุขภาพเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโตนดด้วน สำหรับดำเนินโครงการดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ อาหารดี เพื่อสุขภาพ การแปรรูปอาหาร และประโยชน์ของข้าวสังข์หยด
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องอาหารดี เพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปรรูปอาหาร และประโยชน์ของข้าวสังข์หยดต่อสุขภาพ 2.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5จำนวน 150 คน มีความรู้ ความเข้าใจ การเลือกรับประทานอาหาร 3. นักเรียนเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ อาหารดี เพื่อสุขภาพ การแปรรูปอาหาร และประโยชน์ของข้าวสังข์หยด
ตัวชี้วัด : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5จำนวน 150คนร้อยละ 100 มีความรู้ อาหารดี เพื่อสุขภาพ การแปรรูปอาหาร และประโยชน์ของข้าวสังข์หยด
150.00 150.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีสมรรถนะและสุขภาพร่างกายแข็งแรงตามหลักสุขบัญญัติ10ประการ ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์จากการแปรรูปอาหาร สุขภาพแข็งแรง
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ อาหารดี เพื่อสุขภาพ การแปรรูปอาหาร และประโยชน์ของข้าวสังข์หยด (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ  เรื่องอาหารดี  เพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารดีเพื่อสุขภาพ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3318-02-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปารณีย์ ยิ่งดำนุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด