โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเข้าร่วมโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเข้าร่วมโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปี 2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L3331-01-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 กรกฎาคม 2568 |
งบประมาณ | 12,650.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางธัชกร สุทธิดาจันทร์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนประชากรในเขตเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ | 3,975.00 | ||
2 | จำนวนผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง | 16.00 | ||
3 | จำนวนครัวเรือน | 1,939.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดแผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม จากสถิติผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประเทศไทยตั้แต่ปี 2565 - 2567 พบว่ามีอัตราผู้ป่วยต่อแสนประชากร 1714, 1809 และ 2021 ตามลำดับ สำหรับอำเภอบางแก้วพบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอยู่ในลำดับที่ 5 ของจังหวัด ซึ่งในพื้นที่ของเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ตั้งแต่ปี 2565 - 2567 พบว่ามีอัตราผูู้ปป่วยต่อแสนประชากร 50.72, 81.21 และ 97.20 ตามลำดับ จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าผู็ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นในทุกๆปี ซึ่งหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ อาจนำไปสู่การเกิดภาวะแแทรกซ้อน เช่น ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขึ้นมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้้น 3 - 4 เท่า และโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น 3 - 4 เท่า ผู้ป่วยที่มีน้ำตาลสูงกว่าปกติมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะต่างๆ ของร่งกายเพิ่มขึ้น อาทิ ความเสื่อมสภาพของหลอดเลือดสมอง หัวใจ ตา ไต และเท้าเป็นต้น ดังนั้นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ผู้ป่วยจะต้องควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ และผู้ป่วยจะด้องได้รับการเข้าถึงการคัดครองภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องตามมารตฐานเพื่อที่ผู้ป่วยจะได้ดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุุขและลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่กล่าวมาข้างต้น ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลบางแก้ว ได้รับงบประมาณสนับสนุนในการดำเนินการโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงจากเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ เพื่อเป็นการติดตามผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการติดตามมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเข้าร่วมโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพขึ้น เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงและะลดภาระแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานความดันในกลุ่มป่วย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ผู้ป่วยโรคเบหวานและโรคความดันดลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ผู้ป่วยโรคเบหวานและโรคความดันดลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 80 |
60.00 | |
2 | เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลงตามเกณฑ์ชี้วัดของกระทรวง |
60.00 | |
3 | ลดอัตราป่วยจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง |
60.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 12,650.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 30 มิ.ย. 68 | ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ. 2ส. | 0 | 10,650.00 | - | ||
1 - 31 ก.ค. 68 | แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน (7 ชุมชนๆละ 2 ครั้ง) | 0 | 2,000.00 | - | ||
1 - 31 ก.ค. 68 | ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย (เยี่ยมบ้าน/ย่องครัว ติดตามพฤติกรรมการรับประทานอาหาร/พฤติกรรมการรับประทานยาร่วมกับทีมสหวิชาชีพ จำนวน 2 ครั้ง) | 0 | 0.00 | - | ||
1 - 31 ก.ค. 68 | ติดตามการออกกำลังกายในชุมชน จำนวน 2 ครั้ง | 0 | 0.00 | - |
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
- ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- ไม่พบผู้ป่วยใหม่จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2568 00:00 น.