กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสุกิจ เถาถวิล




ชื่อโครงการ โครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5275-01-005 เลขที่ข้อตกลง 09

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5275-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,817.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-Communicable Diseases) ที่เป็นภาระโรคสำคัญ ของระบบสาธารณสุขในแต่ละประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ซึ่งคาดการณ์ว่าในปีพ.ศ. 2588 จะมีจำนวน ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มขึ้นเป็น 783 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนของโรค 3.2 ล้านคนต่อปี สำหรับประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น 3 แสน คนต่อปีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรจากโรคเบาหวานปี2558 - 2562 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และค่าใช้จ่าย ด้านสาธารณสุขในการรักษาโรคเบาหวานเฉลี่ยสูงถึง 47,596 ล้านบาทต่อปีอีกทั้งผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถ ควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้หากผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง ตามแนวทางมาตรฐานจะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน และแบบเรื้อรัง อันนำไปสู่ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต และคุณภาพ ชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว รวมทั้งภาระทางเศรษกิจประเทศ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพบริการให้ประชาชน ได้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ ปัจจุบันมีการรักษาที่สามารถช่วยให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ใน ระดับต่ำกว่าเกณฑ์วินิจฉัยโรคเบาหวานโดยไม่ต้องใช้ยาเพื่อลดระดับน้ำตาล โดยเรียกภาวะนี้ว่า “Diabetes Remission” หรือโรคเบาหวานระยะสงบ ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดภาระทางเศรษฐกิจได้อย่างมาก ในโรงพยาบาลส่งเสริสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ มีผู้ป่วยเบาหวานในเขตความรับผิดชอบ ทั้งสิ้น 262 ราย ในจำนวนนี้ รับยาต่อเนื่องที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ และศูนย์แพทย์ควนลังในรายที่มียาจำเพาะ และในรายที่ต้องใช้ยาซับซ้อนหรือมีภาวะแทรกซ้อนจะต้องพบแพทย์ที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งร้อยละ 29.01 ผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลได้ดี และยังคงพบผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรค ตั้งแต่ต้นปี ร้อยละ 2.67 ซึ่งในรายทีมีภาวะแทรกซ้อนอาจทำให้เป็นโรคเพิ่มที่ต้องรักษาเพิ่ม ทำให้คุณภาพชีวิตผู้ป่วยแย่ สิ้นเปลืองเวลา และงบประมาณ ซึ่งทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ ได้ ติดดามข้อมูล กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ร่วมกับสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ฯสมาคมเครือข่ายโรคไม่ติดต่อไทย สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย สมาคมผู้ให้ความรู้โรคเบาหวานและหน่วยงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง จัดทำแนวทางการดำเนินงานการดูแลผู้เป็นเบาหวานให้เข้าสู่ระยะสงบ(Remission service) เพื่อเป็นแนวทางมาตรฐานกลางสำหรับสถานบริการสาธารณสุขนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่ หวังว่าแนวทางฯ นี้จะเป็น ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการดูแลผู้เป็นเบาหวานให้เข้าสู่ระยะสงบอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป จึงได้จัดทำโครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ในเขตรับผิดชอบ ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลสุขภาพตนเองของโรคเบาหวายระยะสงบ
  2. ๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการควบคุมระดับน้ำตาลได้ ค่าน้ำหนักตัวลดลง และ HbA1C ลดลง ข้อที่3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ ปรับลดยาลงได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. ประชุมวางแผนการปฏิบัติงานร่วมกับ อสม. จำนวน 77 คน
  2. ๒. อบรมให้ความรู้โรคโภชนาการอาหารโรคเบาหวาน แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คนจำนวน 1 วัน
  3. 3. อบรมฟื้นฟูการดูแลตนเอง การระวังภาวะแทรกซ้อน และการใช้เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (ติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือด ปลายนิ้ว)*หมายเหตุ ติดตาม 3 ครั้ง
  4. 4.กิจกรรมติดตามนัดเจาะเลือด ติดตามค่าผลเลือด HbA1C , น้ำหนัก และการปรับลดยา ในผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการลดยา ลดโรค จำนวน 30 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมโครงการ มีความรู้ ทักษะในการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลได้ถูกต้อง 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมโครงการ มีความรู้ในด้านโภชนาการเพื่อควบคุมและลดระดับน้ำตาลในเลือด 3.ผู้ป่วยเบาหวานที่ร่วมโครงการสามารถปรับลดยาลงได้และลดภาระค่าใช้จ่ายจากยาลง 4.ผู้ป่วยเบาหวานที่ร่วมโครงการไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลสุขภาพตนเองของโรคเบาหวายระยะสงบ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 70 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวานระยะสงบ
0.00

 

2 ๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการควบคุมระดับน้ำตาลได้ ค่าน้ำหนักตัวลดลง และ HbA1C ลดลง ข้อที่3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ ปรับลดยาลงได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรค
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 70 ผู้เข้าร่วมโครงการมีควบคุมระดับน้ำตาลได้ ค่าน้ำหนักตัวลดลง และ HbA1C ลดลง 3.ร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ ปรับลดยาลงได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรค
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลสุขภาพตนเองของโรคเบาหวายระยะสงบ (2) ๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการควบคุมระดับน้ำตาลได้ ค่าน้ำหนักตัวลดลง และ HbA1C ลดลง ข้อที่3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ ปรับลดยาลงได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. ประชุมวางแผนการปฏิบัติงานร่วมกับ อสม. จำนวน 77 คน (2) ๒. อบรมให้ความรู้โรคโภชนาการอาหารโรคเบาหวาน แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คนจำนวน 1 วัน (3) 3. อบรมฟื้นฟูการดูแลตนเอง การระวังภาวะแทรกซ้อน และการใช้เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (ติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือด ปลายนิ้ว)*หมายเหตุ ติดตาม 3 ครั้ง (4) 4.กิจกรรมติดตามนัดเจาะเลือด ติดตามค่าผลเลือด HbA1C , น้ำหนัก และการปรับลดยา ในผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการลดยา ลดโรค จำนวน 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5275-01-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุกิจ เถาถวิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด