โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา รัตนสุริยา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-34 เลขที่ข้อตกลง 36/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การคลอดก่อนกำหนด คือ การคลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ซึ่งภาวะคลอดก่อนกำหนดส่งผลทำให้ทารกมีโอกาสที่จะเสียชีวิตหรือทุพพลภาพมากกว่าทารกคลอดครบกำหนด ยิ่งคลอดก่อนกำาหนดมากเท่าใด โอกาสที่จะเสียชีวิตหรือทุพพลภาพจะมากขึ้นเท่านั้น สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการคลอดก่อนกำหนดส่วนใหญ่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน แต่มีปัจจัยชักนำบางอย่างที่อาจจะเป็นสาเหตุของการเจ็บครรภ์และคลอดก่อนกำหนด ได้แก่ เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความเสี่ยงมากที่สุด ที่ทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ต่อมา, มารดามีโรคที่รุนแรง,
การติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อในช่องคลอด, มดลูกขยายตัวมากเกินไป เช่น ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ มีเนื้องอกที่มดลูก, มารดามีปัญหาที่ปากมดลูก เช่น ปากมดลูกหลวม มีประวัติเคยถ่างขยายและขูดมดลูก หรือทำแท้งในไตรมาสที่สองหรือผ่าตัดปากมดลูก, มีพยาธิสภาพที่รก เช่น รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด นอกจากนี้ปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ การติดสารเสพติด เช่น การสูบบุหรี่ มารดาวัยรุ่น มารดาอายุมากกว่า 40 ปี ทุพโภชนาการ โลหิตจาง เศรษฐานะทางสังคมต่ำมีโอกาสเสียชีวิตสูง รวมถึงยังมีโอกาสพบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ เช่น ปอดทำงานไม่ดี มีภาวะเลือดออกในสมอง มีภาวะเลือดออกในลำไส้ ส่งผลให้ทารกมีความพิการในช่วงหลังคลอด บางรายจะมีพัฒนาการล่าช้า หากทารกรายนั้นมีความพิการ ครอบครัว และภาครัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการฟื้นฟูสภาพร่างกายและดูแลรักษาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี จากการทำวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนทีปังกรนภัทรบุตร พบว่า ประมาณร้อยละ 50 - 60 ของการคลอดก่อนกำหนดเกิดขึ้นในสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีโรค หรือภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ บางคนเกิดจากพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ ก่อให้เกิดภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์เหล่านั้น ยังขาดความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะคลอด ก่อนกำหนด จึงเข้ามารับการรักษาล่าช้า เป็นเหตุให้การยับยั้งภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดไม่ประสบผลสำเร็จ
ด้วยเหตุนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของภาวะคลอดก่อนกำหนดและตัดสินใจไปพบแพทย์โดยเร็ว ส่งผลให้สามารถรักษาภาวะคลอดก่อนกำหนดได้อย่างรวดเร็วต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงความอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
- สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลทะเบียนตั้งครรภ์ และฐานข้อมูลการช่วยเหลือและส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่
- ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ
- ช่วยเหลือรับ-ส่งหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่เพื่อไปพบแพทย์
- อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ และมีการไปฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
- หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด
- หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และสามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์
- หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ และมีการไปฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00
80.00
2
เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงความอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด
50.00
80.00
3
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และสามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์
50.00
80.00
4
เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
50.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ (2) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงความอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์ (4) เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก (2) สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลทะเบียนตั้งครรภ์ และฐานข้อมูลการช่วยเหลือและส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ (3) ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ (4) ช่วยเหลือรับ-ส่งหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่เพื่อไปพบแพทย์ (5) อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-34
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวพนิดา รัตนสุริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา รัตนสุริยา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-34 เลขที่ข้อตกลง 36/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การคลอดก่อนกำหนด คือ การคลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ซึ่งภาวะคลอดก่อนกำหนดส่งผลทำให้ทารกมีโอกาสที่จะเสียชีวิตหรือทุพพลภาพมากกว่าทารกคลอดครบกำหนด ยิ่งคลอดก่อนกำาหนดมากเท่าใด โอกาสที่จะเสียชีวิตหรือทุพพลภาพจะมากขึ้นเท่านั้น สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการคลอดก่อนกำหนดส่วนใหญ่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน แต่มีปัจจัยชักนำบางอย่างที่อาจจะเป็นสาเหตุของการเจ็บครรภ์และคลอดก่อนกำหนด ได้แก่ เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความเสี่ยงมากที่สุด ที่ทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ต่อมา, มารดามีโรคที่รุนแรง,
การติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อในช่องคลอด, มดลูกขยายตัวมากเกินไป เช่น ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ มีเนื้องอกที่มดลูก, มารดามีปัญหาที่ปากมดลูก เช่น ปากมดลูกหลวม มีประวัติเคยถ่างขยายและขูดมดลูก หรือทำแท้งในไตรมาสที่สองหรือผ่าตัดปากมดลูก, มีพยาธิสภาพที่รก เช่น รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด นอกจากนี้ปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ การติดสารเสพติด เช่น การสูบบุหรี่ มารดาวัยรุ่น มารดาอายุมากกว่า 40 ปี ทุพโภชนาการ โลหิตจาง เศรษฐานะทางสังคมต่ำมีโอกาสเสียชีวิตสูง รวมถึงยังมีโอกาสพบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ เช่น ปอดทำงานไม่ดี มีภาวะเลือดออกในสมอง มีภาวะเลือดออกในลำไส้ ส่งผลให้ทารกมีความพิการในช่วงหลังคลอด บางรายจะมีพัฒนาการล่าช้า หากทารกรายนั้นมีความพิการ ครอบครัว และภาครัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการฟื้นฟูสภาพร่างกายและดูแลรักษาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี จากการทำวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนทีปังกรนภัทรบุตร พบว่า ประมาณร้อยละ 50 - 60 ของการคลอดก่อนกำหนดเกิดขึ้นในสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีโรค หรือภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ บางคนเกิดจากพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ ก่อให้เกิดภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์เหล่านั้น ยังขาดความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะคลอด ก่อนกำหนด จึงเข้ามารับการรักษาล่าช้า เป็นเหตุให้การยับยั้งภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดไม่ประสบผลสำเร็จ
ด้วยเหตุนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของภาวะคลอดก่อนกำหนดและตัดสินใจไปพบแพทย์โดยเร็ว ส่งผลให้สามารถรักษาภาวะคลอดก่อนกำหนดได้อย่างรวดเร็วต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงความอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
- สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลทะเบียนตั้งครรภ์ และฐานข้อมูลการช่วยเหลือและส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่
- ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ
- ช่วยเหลือรับ-ส่งหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่เพื่อไปพบแพทย์
- อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ และมีการไปฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
- หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด
- หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และสามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์
- หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ และมีการไปฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
50.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงความอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด |
50.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และสามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์ |
50.00 | 80.00 |
|
|
4 | เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์ ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์ |
50.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการตั้งครรภ์การฝากครรภ์ (2) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงความอันตรายของการคลอดก่อนกำหนด (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองได้ในขณะตั้งครรภ์ (4) เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธ์และประชาชนทั่วไปมีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาฝากครรภ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก (2) สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลทะเบียนตั้งครรภ์ และฐานข้อมูลการช่วยเหลือและส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ (3) ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ (4) ช่วยเหลือรับ-ส่งหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่เพื่อไปพบแพทย์ (5) อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-34
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวพนิดา รัตนสุริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......