โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมพร ตันธิวุฒ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2979-02-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L2979-02-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2979-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขตลอดมา เพราะเป็นโรคติดต่อโดยมียุงเป็นพาหะนำโรค ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและสูญเสียด้านเศรษฐกิจรายได้ของครอบครัว ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนักและยังคงเป็นปัญหาที่ยังคุกคามชีวิตประชาชนมาโดยตลอด อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังมีอยู่คือ การที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก และการไม่มีพฤติกรรมตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกสำหรับพื้นที่เขต 12 ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – วันที่ 30 ตุลาคม 2567 (ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง Digital 506 กรมควบคุมโรค) พบผู้ป่วย 11,643 ราย อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกอัตราป่วย 243.31ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 8 ราย (จังหวัดยะลา 3 ราย,สงขลา 2 ราย,ปัตตานี 2 ราย,และพัทลุง 2 ราย) คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 0.067 จังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุดคือ จังหวัดพัทลุง 357.45 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ จังหวัดปัตตานี 285.64 ต่อแสนประชากร จังหวัดสงขลา267.50 ต่อแสนประชากร
ในจังหวัดปัตตานีพบผู้ป่วยมากที่สุดในช่วงอายุ 10-14 ปี อัตราป่วยร้อยละ 756.05 ต่อแสนประชากร รองลงมาอายุ 5-9 ปี อัตราป่วยร้อยละ 646.83 ต่อแสนประชากร พบผู้ป่วยมากที่สุดที่สายบุรี อัตราป่วย 507.54 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วย 404 ราย รองลงมาอำเภอยะหริ่ง อัตราป่วย 445.05 ต่อแสะประชากร ผู้ป่วย 364 ราย อำเภอปะนาเระ อัตราป่วย 409.11 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยอำเภอยะรัง อัตราป่วย 336.08 ต่อแสนประชากร รองลงมาอำเภอโคกโพธิ์ คิดเป็นอัตราป่วย 335.13 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนด(50/แสนประชากร)
และในตำบลทุ่งพลาในปี 2567 เป็นพื้นที่ที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมีนาคม – ตุลาคมของทุกปี ในปี 2567 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วย 23 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 735.76 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนด (50/แสนประชากร) และในการควบคุมโรคไข้เลือดออกทุกครั้ง ก็ต้องใช้ทีมควบคุมโรคไข้เลือดออก และเครื่องมืออุปกรณ์ในการลงควบคุมโรค เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการควบคุมโรค ต่อไป
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลทุ่งพลาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันถ่วงทีที่เกิดโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. แกนนำชุมชน มีส่วนร่วมในการทำลายลูกน้ำยุงลายในชุมชน
- เพื่อเน้นให้ชุมชน โรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้ อสม.แกนนำชุมชน และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมทักษะและให้ความรู้แก่ อสม.แกนนำและทีมควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยวิทยากร
- ออกติดตามสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดย อสม.และแกนนำชุมชน แบบไขว้หมู่บ้าน
- จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ชุมชนร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและดำเนินการพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
79
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม. แกนนำชุมชนและประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นและเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
2.ลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายได้
3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้อสม. แกนนำชุมชน มีส่วนร่วมในการทำลายลูกน้ำยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนลดลง (เป้าหมาย ร้อยละ 80)
0.00
80.00
2
เพื่อเน้นให้ชุมชน โรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราการพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI และ CI = 0
0.00
100.00
3
เพื่อให้ อสม.แกนนำชุมชน และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : อสม. แกนนำชุมชนและประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น
0.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
79
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
79
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. แกนนำชุมชน มีส่วนร่วมในการทำลายลูกน้ำยุงลายในชุมชน (2) เพื่อเน้นให้ชุมชน โรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อให้ อสม.แกนนำชุมชน และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมทักษะและให้ความรู้แก่ อสม.แกนนำและทีมควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยวิทยากร (2) ออกติดตามสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดย อสม.และแกนนำชุมชน แบบไขว้หมู่บ้าน (3) จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ชุมชนร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและดำเนินการพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2979-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสมพร ตันธิวุฒ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมพร ตันธิวุฒ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2979-02-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L2979-02-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2979-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขตลอดมา เพราะเป็นโรคติดต่อโดยมียุงเป็นพาหะนำโรค ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและสูญเสียด้านเศรษฐกิจรายได้ของครอบครัว ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนักและยังคงเป็นปัญหาที่ยังคุกคามชีวิตประชาชนมาโดยตลอด อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังมีอยู่คือ การที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก และการไม่มีพฤติกรรมตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกสำหรับพื้นที่เขต 12 ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – วันที่ 30 ตุลาคม 2567 (ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง Digital 506 กรมควบคุมโรค) พบผู้ป่วย 11,643 ราย อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกอัตราป่วย 243.31ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 8 ราย (จังหวัดยะลา 3 ราย,สงขลา 2 ราย,ปัตตานี 2 ราย,และพัทลุง 2 ราย) คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 0.067 จังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุดคือ จังหวัดพัทลุง 357.45 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ จังหวัดปัตตานี 285.64 ต่อแสนประชากร จังหวัดสงขลา267.50 ต่อแสนประชากร
ในจังหวัดปัตตานีพบผู้ป่วยมากที่สุดในช่วงอายุ 10-14 ปี อัตราป่วยร้อยละ 756.05 ต่อแสนประชากร รองลงมาอายุ 5-9 ปี อัตราป่วยร้อยละ 646.83 ต่อแสนประชากร พบผู้ป่วยมากที่สุดที่สายบุรี อัตราป่วย 507.54 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วย 404 ราย รองลงมาอำเภอยะหริ่ง อัตราป่วย 445.05 ต่อแสะประชากร ผู้ป่วย 364 ราย อำเภอปะนาเระ อัตราป่วย 409.11 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยอำเภอยะรัง อัตราป่วย 336.08 ต่อแสนประชากร รองลงมาอำเภอโคกโพธิ์ คิดเป็นอัตราป่วย 335.13 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนด(50/แสนประชากร)
และในตำบลทุ่งพลาในปี 2567 เป็นพื้นที่ที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมีนาคม – ตุลาคมของทุกปี ในปี 2567 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วย 23 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 735.76 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนด (50/แสนประชากร) และในการควบคุมโรคไข้เลือดออกทุกครั้ง ก็ต้องใช้ทีมควบคุมโรคไข้เลือดออก และเครื่องมืออุปกรณ์ในการลงควบคุมโรค เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการควบคุมโรค ต่อไป
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลทุ่งพลาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันถ่วงทีที่เกิดโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. แกนนำชุมชน มีส่วนร่วมในการทำลายลูกน้ำยุงลายในชุมชน
- เพื่อเน้นให้ชุมชน โรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้ อสม.แกนนำชุมชน และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมทักษะและให้ความรู้แก่ อสม.แกนนำและทีมควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยวิทยากร
- ออกติดตามสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดย อสม.และแกนนำชุมชน แบบไขว้หมู่บ้าน
- จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ชุมชนร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและดำเนินการพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 79 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม. แกนนำชุมชนและประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นและเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 2.ลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายได้ 3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อสม. แกนนำชุมชน มีส่วนร่วมในการทำลายลูกน้ำยุงลายในชุมชน ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนลดลง (เป้าหมาย ร้อยละ 80) |
0.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อเน้นให้ชุมชน โรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราการพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยค่า HI และ CI = 0 |
0.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ อสม.แกนนำชุมชน และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ตัวชี้วัด : อสม. แกนนำชุมชนและประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น |
0.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 79 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 79 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. แกนนำชุมชน มีส่วนร่วมในการทำลายลูกน้ำยุงลายในชุมชน (2) เพื่อเน้นให้ชุมชน โรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อให้ อสม.แกนนำชุมชน และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมทักษะและให้ความรู้แก่ อสม.แกนนำและทีมควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยวิทยากร (2) ออกติดตามสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดย อสม.และแกนนำชุมชน แบบไขว้หมู่บ้าน (3) จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ชุมชนร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและดำเนินการพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลทุ่งพลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2979-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสมพร ตันธิวุฒ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......