โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางดุษฎี ธรรมเจริญ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข โดย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ร่วมกันขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติด้านยาและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ โดยให้ทุกจังหวัดบริหารจัดการระบบสุขภาพด้านการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในหน่วยบริการภาครัฐ เอกชน และดูแลสุขภาพในชุมชน เพื่อให้หน่วยบริการสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายร่วมกันขับเคลื่อนงานพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) มุ่งสู่เป้าหมายประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความเข้มแข็งสามารถดูแลตนเองอย่างยั่งยืน อีกทั้งยังส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ
จังหวัดปัตตานีได้ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพด้านยาในสถานบริการสาธารณสุข ตามมาตรฐานด้านต่างๆ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาล สถานศึกษา คลินิกเอกชน ร้านยา ตลาดและร้ายค้า/ร้านชำในชุมชน เพื่อให้มีการสั่งใช้ยา การจำหน่ายยาและผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัยและเหมาะสม ลดความเสี่ยงจากการแพ้ยาซ้ำ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง (Health Literacy) แก่ผู้ป่วย ผู้บริโภค ในการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์ฯ ประชาสัมพันธ์ช่องทางการสืบค้นข้อมูลผลิตภัณฑ์ฯ และใช้สิทธิผู้บริโภคในรายงานผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ เมื่อสงสัยว่าผลิตภัณฑ์นัั้นไม่ปลอดภัย โดยมีกระบวนการที่สำคัญ คือ การสร้างความร่วมมือจากหน่วยงานในระดับจังหวัด อำเภอ และชุมชน ในการร่วมมือเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ เกิดความเชื่อมโยงด้านข้อมูล ลดปัญหาหรือแก้ไขปัญหาที่ส่งต่อสุขภาพของผู้ป่วย ผู้บริโภค และประชาสัมพันธ์สร้างความรู้/ความเข้าใจแก่ประชาชน จากผลการดำเนินงาน ปี 2567 ด้านส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดอำเภอ RDU มีอำเภอที่ผ่านเกรฑ์ RDU District จำนวน 8 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 66.67 และมีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน ทั้งหมด 130 แห่ง ไปยังองค์กรบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ผลการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน (RI) และโรคท้องเสียเฉียบพลัน (AD) ใน รพ.สต.มีอำเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 คือ อำเภอปะนาเระ (ร้อยละ60) ,อำเภอสายบุรี (ร้อยละ 66.67) และอำเภอมายอ (ร้อยละ 78.57)
ในปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานีกำหนดเป้าหมายการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ประเด็นหนึ่ง คือ อาหารไม่มีการปอมปลน หรือปนเปื้อนยาหรือสารเคมีที่เป็นอันตราย จากข้อมูลของหน่วยงานสาธารณสุขจังกวัด เทศบาลเมืองปัตตานี สมาคมคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดปัตตานี ปศุสัตว์จังหวัด เกษตรจังหวัด และประมงจังหวัด ยังคงพบปัญหาการปนเปื้อนยาและสารฆ่าแมลง หรือสารเคมีที่อันตราายในอาหารสดหรืออาหารแปรรูปมาอย่างยาวนาน ข้อมูลรายงานผลการตรวจเฝ้าระวังสารเร่งเนื้อแดงในเนื้อวัว เนื้อหมู และสารฆ่าแมลงในพืชผัก ผลไม้ ปี 2565-2567 โดยสุ่มตัวอย่างเก็บจากตลาดในทุกอำเภอ ชนิดของอาหารที่สุ่มคัดเลือดจากข้อมูลของชนิดอาหารที่มีการตรวจที่มักพบว่า ไม่ผ่านมาตราฐานโดยสรุป คือ 1.ยังคงพบปลอมปนสารเร่งเนื้อแดง (ยา Salbutamol) ที่ห้ามใส่ในเนื้อหมู เนื้อวัว แม้ว่ามีแนวโน้มลดลง ซึ่งปี 2567 ตรวจพบสารเร่งเนื้อแดง คิดเป็นร้อยละ 13.24 (พบ 9 ตย. จาก 68 ตย.) โดยพบในเนื้อวัว ร้อยละ 12.07 (8 ตย. จาก 36 ตย.) พบในเนื้อหมู ร้อยละ 20 (1 ตย. จาก 5 ตย.) 2. ยังคงพบการปนเปื้อนสารฆ่าแมลง (เกินมาตรฐาน) มีแนวโน้มสูงขึ้นจากปี 2566 ชนิดของพืชที่พบมาก 5 อันดับ คือ กระเทียม พริกสด ผักกาดขาว กะหล่ำปลี และกะหล่ำดอก ตามลำดับ ซึ่งมีการติดตามตรวจสอบซ้ำ (ในผู้ขายที่ไม่ผ่านมาตรฐาน) ส่งคืนผลตรวจไปยังสำนักงานสาธารณสุขอำเภอในพื้นที่รับผืดชอบ เพื่อแจ้งผู้ขายให้เปลี่ยนเจ้าและขอข้อมูล ต้นทางผู้จำหน่ายในการตามรอยและเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำ ประสานข้อมูลไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เกษตรกร ปศุสัตว์เทศบาล ในพัฒนาและการกำกับติดตามสถานที่ต้นเหตุ แต่ยังไม่มีการดำเนินการทางกฎหมายกับผู้ขายอาหารสดในตลาดเพื่อให้การเฝ้าระวัง ควบคุม กำกับเป็นไปอย่างต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาประเด็น การปลอมปนหรือการปนเปื้อน ยาและสารเคมีอันตรายในอาหารที่จำหน่ายในตลาด แผงจำหน่ายอาหารสดบนทางเท้าในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยมีความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐ และมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ประกอบการผลิต แปรรุป หรือผู้จำหน่าย รวมถึงผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการ รวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหงวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2658
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการร้านค้าและแผงจำหน่ายอาหารสดให้ความร่วมมือและตระหนักถึงอันตรายของยาหรือสารเคมีที่ตกค้างในอาหาร
- อาหารสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่จำหน่ายผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
- ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นในอาหารที่จำหน่ายในตลาดสด แผงจำหน่ายในตลาดสด แผงจำหน่ายนอกตลาดในเขตเทศบาลและปลอดภัยจากการนำไปบริโภคในชีวิตประจำวัน
- มีเครือข่ายในตลาดที่ร่วมกันดูแลและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดอันตรายจากการจำหน่ายและบริโภคอาหารที่มีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฎิบัติการบูรณาการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันในการแก้ปัญหาการปนเปื้อนยา สารเคมีในอาหารที่สด อาหารแปรรุป
2. ร้อยละ 80 ของอาหารกลุ่มเป้าหมายที่รับการตรวจสอบการปนเปื้อนอยู่ในเกณฑ์กำหนด
3. มีทีมเครือข่ายดูแลความปลอดภัยและผผ่านการอบรมความรู้ที่เกี่ยวข้อง
4. มีกิจกรรมที่สร้างความรู้หรือความเข้าใจให้กับผู้จำหน่ายผู้บริโภคอย่างน้อย 1 กิจกรรมในทุกไตมาส
2
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้ (2)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดุษฎี ธรรมเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางดุษฎี ธรรมเจริญ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข โดย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ร่วมกันขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติด้านยาและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ โดยให้ทุกจังหวัดบริหารจัดการระบบสุขภาพด้านการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในหน่วยบริการภาครัฐ เอกชน และดูแลสุขภาพในชุมชน เพื่อให้หน่วยบริการสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายร่วมกันขับเคลื่อนงานพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) มุ่งสู่เป้าหมายประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความเข้มแข็งสามารถดูแลตนเองอย่างยั่งยืน อีกทั้งยังส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ
จังหวัดปัตตานีได้ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพด้านยาในสถานบริการสาธารณสุข ตามมาตรฐานด้านต่างๆ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาล สถานศึกษา คลินิกเอกชน ร้านยา ตลาดและร้ายค้า/ร้านชำในชุมชน เพื่อให้มีการสั่งใช้ยา การจำหน่ายยาและผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัยและเหมาะสม ลดความเสี่ยงจากการแพ้ยาซ้ำ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง (Health Literacy) แก่ผู้ป่วย ผู้บริโภค ในการเลือกใช้ยาและผลิตภัณฑ์ฯ ประชาสัมพันธ์ช่องทางการสืบค้นข้อมูลผลิตภัณฑ์ฯ และใช้สิทธิผู้บริโภคในรายงานผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ เมื่อสงสัยว่าผลิตภัณฑ์นัั้นไม่ปลอดภัย โดยมีกระบวนการที่สำคัญ คือ การสร้างความร่วมมือจากหน่วยงานในระดับจังหวัด อำเภอ และชุมชน ในการร่วมมือเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ เกิดความเชื่อมโยงด้านข้อมูล ลดปัญหาหรือแก้ไขปัญหาที่ส่งต่อสุขภาพของผู้ป่วย ผู้บริโภค และประชาสัมพันธ์สร้างความรู้/ความเข้าใจแก่ประชาชน จากผลการดำเนินงาน ปี 2567 ด้านส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดอำเภอ RDU มีอำเภอที่ผ่านเกรฑ์ RDU District จำนวน 8 อำเภอ คิดเป็นร้อยละ 66.67 และมีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน ทั้งหมด 130 แห่ง ไปยังองค์กรบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ผลการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน (RI) และโรคท้องเสียเฉียบพลัน (AD) ใน รพ.สต.มีอำเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 คือ อำเภอปะนาเระ (ร้อยละ60) ,อำเภอสายบุรี (ร้อยละ 66.67) และอำเภอมายอ (ร้อยละ 78.57)
ในปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานีกำหนดเป้าหมายการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ประเด็นหนึ่ง คือ อาหารไม่มีการปอมปลน หรือปนเปื้อนยาหรือสารเคมีที่เป็นอันตราย จากข้อมูลของหน่วยงานสาธารณสุขจังกวัด เทศบาลเมืองปัตตานี สมาคมคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดปัตตานี ปศุสัตว์จังหวัด เกษตรจังหวัด และประมงจังหวัด ยังคงพบปัญหาการปนเปื้อนยาและสารฆ่าแมลง หรือสารเคมีที่อันตราายในอาหารสดหรืออาหารแปรรูปมาอย่างยาวนาน ข้อมูลรายงานผลการตรวจเฝ้าระวังสารเร่งเนื้อแดงในเนื้อวัว เนื้อหมู และสารฆ่าแมลงในพืชผัก ผลไม้ ปี 2565-2567 โดยสุ่มตัวอย่างเก็บจากตลาดในทุกอำเภอ ชนิดของอาหารที่สุ่มคัดเลือดจากข้อมูลของชนิดอาหารที่มีการตรวจที่มักพบว่า ไม่ผ่านมาตราฐานโดยสรุป คือ 1.ยังคงพบปลอมปนสารเร่งเนื้อแดง (ยา Salbutamol) ที่ห้ามใส่ในเนื้อหมู เนื้อวัว แม้ว่ามีแนวโน้มลดลง ซึ่งปี 2567 ตรวจพบสารเร่งเนื้อแดง คิดเป็นร้อยละ 13.24 (พบ 9 ตย. จาก 68 ตย.) โดยพบในเนื้อวัว ร้อยละ 12.07 (8 ตย. จาก 36 ตย.) พบในเนื้อหมู ร้อยละ 20 (1 ตย. จาก 5 ตย.) 2. ยังคงพบการปนเปื้อนสารฆ่าแมลง (เกินมาตรฐาน) มีแนวโน้มสูงขึ้นจากปี 2566 ชนิดของพืชที่พบมาก 5 อันดับ คือ กระเทียม พริกสด ผักกาดขาว กะหล่ำปลี และกะหล่ำดอก ตามลำดับ ซึ่งมีการติดตามตรวจสอบซ้ำ (ในผู้ขายที่ไม่ผ่านมาตรฐาน) ส่งคืนผลตรวจไปยังสำนักงานสาธารณสุขอำเภอในพื้นที่รับผืดชอบ เพื่อแจ้งผู้ขายให้เปลี่ยนเจ้าและขอข้อมูล ต้นทางผู้จำหน่ายในการตามรอยและเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำ ประสานข้อมูลไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เกษตรกร ปศุสัตว์เทศบาล ในพัฒนาและการกำกับติดตามสถานที่ต้นเหตุ แต่ยังไม่มีการดำเนินการทางกฎหมายกับผู้ขายอาหารสดในตลาดเพื่อให้การเฝ้าระวัง ควบคุม กำกับเป็นไปอย่างต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาประเด็น การปลอมปนหรือการปนเปื้อน ยาและสารเคมีอันตรายในอาหารที่จำหน่ายในตลาด แผงจำหน่ายอาหารสดบนทางเท้าในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยมีความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐ และมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ประกอบการผลิต แปรรุป หรือผู้จำหน่าย รวมถึงผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการ รวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหงวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2658
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการร้านค้าและแผงจำหน่ายอาหารสดให้ความร่วมมือและตระหนักถึงอันตรายของยาหรือสารเคมีที่ตกค้างในอาหาร
- อาหารสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่จำหน่ายผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
- ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นในอาหารที่จำหน่ายในตลาดสด แผงจำหน่ายในตลาดสด แผงจำหน่ายนอกตลาดในเขตเทศบาลและปลอดภัยจากการนำไปบริโภคในชีวิตประจำวัน
- มีเครือข่ายในตลาดที่ร่วมกันดูแลและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดอันตรายจากการจำหน่ายและบริโภคอาหารที่มีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้ ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฎิบัติการบูรณาการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันในการแก้ปัญหาการปนเปื้อนยา สารเคมีในอาหารที่สด อาหารแปรรุป 2. ร้อยละ 80 ของอาหารกลุ่มเป้าหมายที่รับการตรวจสอบการปนเปื้อนอยู่ในเกณฑ์กำหนด 3. มีทีมเครือข่ายดูแลความปลอดภัยและผผ่านการอบรมความรู้ที่เกี่ยวข้อง 4. มีกิจกรรมที่สร้างความรู้หรือความเข้าใจให้กับผู้จำหน่ายผู้บริโภคอย่างน้อย 1 กิจกรรมในทุกไตมาส |
|
|||
2 | ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้ (2)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดุษฎี ธรรมเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......