กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลดเสี่ยง ชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางอามีหน๊ะ มะดีเยาะ




ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยง ชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68L70080111 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดเสี่ยง ชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยง ชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดเสี่ยง ชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68L70080111 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไตวายเรื้อรัง ในระยะแรกมักไม่พบอาการผิดปกติทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นโรคไตมักตรวจพบเมื่อโรคดำเนินไปมากแล้วหรือเมื่อโรคดำเนินเข้าสู่ระยะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ( End Stage renal disease: ESRD ) ซึ่งเป็นระยะที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษาบำบัดทดแทนไตได้แก่ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมการล้างไตทางช่องท้องหรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไตซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากการศึกษาในประเทศไทยพบว่า ความชุกของโรคไตวายเรื้อรังตั้งแต่ระยะที่ 3 ขึ้นไปมีประมาณร้อยละ 2.9 – 13 จากประชากรทั้งประเทศประมาณ 70 ล้านคน หรืออยู่ในช่วง 2 ล้าน ถึง 9 ล้านกว่าคนสาเหตุของการเกิดโรคไตเรื้อรังเกิดจากโรคเบาหวานร้อยละ 36.3 ความดันโลหิตสูงร้อยละ 23.3 ภาวะทางเดินปัสสาวะอุดกั้นร้อยละ 4.79 และโรคหลอดเลือดฝอยอักเสบร้อยละ 2.43 และมีเพียงผู้ป่วยร้อยละ 1.9 เท่านั้นที่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นโรคไตวายเรื้อรังจากข้อมูลสถานะสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปี 2565-2567 มีผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 115 รายผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 243 ราย ในจำนวนนี้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 75 คนผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนทางไต stage 1-5 จำนวน 67 ราย คิดเป็นร้อยละ 58.26 ของผู้ป่วยทั้งหมดและมีภาวะแทรกซ้อนทางไต stage 3 ขึ้นไป จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.74 ของผู้ป่วยทั้งหมดหากผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนทางไตเพิ่มมากขึ้นย่อมส่งผลต่อภาระค่ารักษาพยาบาล ทั้งส่วนของภาครัฐผู้ป่วยและครอบครัวได้ ดังนั้นหากผู้ป่วยได้รับการคัดกรองภาวะไตเสื่อมได้รับการคืนข้อมูลและรับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวเพื่อชะลอไตเสื่อมโดยมีการจัดตั้งกลุ่มชะลอไตเสื่อมเพื่อคอยกระตุ้นเตือนและช่วยเหลือกันจะช่วยให้ไตเสื่อมช้าลง และลดภาระค่าใช้จ่ายได้ในทุกภาคส่วน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการลดเสี่ยงชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีปีงบประมาณ 2567 ขึ้นโดยมีเป้าหมายให้ชุมชนมีความรู้ เข้าใจและเข้าถึงข้อมูลสุขภาพเรื่องภาวะไตเสื่อมมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีคลินิกชะลอไตเสื่อมในสถานบริการ
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน ไตเสื่อม และชะลอไตเสื่อมระยะสุดท้าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมความพร้อมทีมงานเพื่อดำเนินงานเฝ้าระวังและติดตามการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
  2. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองในผู้ป่วยผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไตเรื้อรังและผู้ดูแล
  3. เยี่ยมบ้านเฝ้าระวังและติดตามการใช้ยาในผู้ป่วยผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไตเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางปู 25
เจ้าหน้าที่รพ.สต.บางปู 5

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคลินิกชะลอไตเสื่อม และพัฒนารูปแบบระบบการดูแลผู้ป่วย 2.ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง และผู้ดูแลที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันไตเสื่อม และชะลอไตเสื่อมระยะสุดท้าย 3.เกิดเครือข่ายภาคประชาชนในการดูแลป้องกันปัญหาโรคไตเสื่อมในผู้ป่วยในชุมชน .


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีคลินิกชะลอไตเสื่อมในสถานบริการ
ตัวชี้วัด : มีการจัดระบบริการ รูปแบบการดำเนินการคลินิกไตวายเรื้อรังที่ชัดเจน
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน ไตเสื่อม และชะลอไตเสื่อมระยะสุดท้าย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง และผู้ดูแลที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันไตเสื่อม และชะลอไตเสื่อมระยะสุดท้าย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางปู 25
เจ้าหน้าที่รพ.สต.บางปู 5

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีคลินิกชะลอไตเสื่อมในสถานบริการ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน          ไตเสื่อม และชะลอไตเสื่อมระยะสุดท้าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมความพร้อมทีมงานเพื่อดำเนินงานเฝ้าระวังและติดตามการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน (2) สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองในผู้ป่วยผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไตเรื้อรังและผู้ดูแล (3) เยี่ยมบ้านเฝ้าระวังและติดตามการใช้ยาในผู้ป่วยผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไตเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดเสี่ยง ชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68L70080111

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอามีหน๊ะ มะดีเยาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด