โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัดลุตฟี กามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-06 เลขที่ข้อตกลง 28/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติ ฉบับที่สอง เป็นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านวัคซีนในระยะ 5 ปี พ.ศ. 2560-2564 ต่อเนื่องจากนโยบายและแผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติ ฉบับแรก มีเป้าหมายสำคัญ คือ การสร้างความมั่นคงและการพึ่งตนเองด้านวัคซีน ประชาชนมีวัคซีนใช้อย่างเพียงพอ สามารถเข้าถึงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี นับเป็นพื้นฐานสำคัญของการ
ป้องกันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้เด็กห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ซึ่งเป็นนโยบายหนึ่งของกระทรวงสาธารณสุขที่ว่าด้วย เด็กอายุ 0-5 ปี จะต้องได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 100 และโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนต้องหายไปจากประเทศไทย การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นกลวิธีในการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด
กระทรวงสาธารณสุขได้จัดให้มีการบริการวัคซีนขั้นพื้นฐานตามช่วงอายุที่เหมาะสม เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยทุกคน ตามสิทธิประโยชน์พื้นฐานในการบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คำแนะนำของคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งสำหรับโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่ให้บริการมีวัคซีน 11 ชนิด ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค (BCG) วัคซีนป้องกันโรค ตับอักเสบบี(HB) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี-ฮิบ (DTP-HB-Hib) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน (OPV) วัคซีนโรต้า (Rota) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด (IPV) วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (LAJE) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกจาก
เชื้อเอชพีวี (HPV) และวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) ซึ่งป้องกันทั้งหมด 13 โรค ได้แก่ โรคตับอักเสบบี วัณโรค
โรคคอตีบ โรคบาดทะยัก โรคไอกรน โรคฮิบ โรคโปลิโอ โรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า โรคหัด โรคหัดเยอรมัน โรคคางทูม
โรคไข้สมองอักเสบเจอี และมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี และกำหนดให้วัคซีนในผู้ใหญ่ ได้แก่ วัคซีนรวมป้องกันโรค
คอตีบ-บาดทะยัก (dT) วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) วัคซีนรวม ป้องกันโรคหัด-หัดเยอรมัน (MR) และวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี (HB)
ด้วยสภาพการณ์ปัจจุบัน การดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในพื้นที่หมู่ที่ 1,2 และหมู่ที่ 8
ตำบลบุดี มีประชากรเด็กอายุ 0- 5 ปี ปีงบประมาณ 2567 จำนวน 280 คน และได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 245 คน คิดเป็น 87.5 % ซึ่งต้องติดตามเด็กอีกจำนวน7 คน ถึงจะทำได้มากกว่า 90%ซึ่งได้รับความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี แต่ยังมีเด็กที่ฉีดวัคซีนล่าช้า ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย
การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นอกจากกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี แล้วยังมีกลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ที่ต้องได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV เนื่องจาก โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นโรคที่พบมากในหญิงไทยเป็นอันดับ 2
รองจากมะเร็งเต้านม ในแต่ละปี หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกสูงถึงปีละเกือบหมื่นราย และมีอัตราเสียชีวิตเกิน 50% นับว่าเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ การป้องกันด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส HPV ซึ่งเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกจึงเป็นแนวทางการป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด โดยหลักการสำคัญคือ ควรฉีดตั้งแต่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด
- 2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- 3. เพื่อให้กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ให้ความสำคัญ ในการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีน ในเด็กอายุ 0-5 ปี
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกHPV
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ร้อยละ 90 เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ร้อยละ 90
- ร้อยละ 80 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
- กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของเด็ก 0- 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
0.00
2
2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
0.00
3
3. เพื่อให้กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ให้ความสำคัญ ในการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 80 ของกลุ่มหญิงอายุ 11-20 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) 2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อให้กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ให้ความสำคัญ ในการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีน ในเด็กอายุ 0-5 ปี (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกHPV
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอะหมัดลุตฟี กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัดลุตฟี กามา
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-06 เลขที่ข้อตกลง 28/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติ ฉบับที่สอง เป็นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านวัคซีนในระยะ 5 ปี พ.ศ. 2560-2564 ต่อเนื่องจากนโยบายและแผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติ ฉบับแรก มีเป้าหมายสำคัญ คือ การสร้างความมั่นคงและการพึ่งตนเองด้านวัคซีน ประชาชนมีวัคซีนใช้อย่างเพียงพอ สามารถเข้าถึงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี นับเป็นพื้นฐานสำคัญของการ
ป้องกันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้เด็กห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ซึ่งเป็นนโยบายหนึ่งของกระทรวงสาธารณสุขที่ว่าด้วย เด็กอายุ 0-5 ปี จะต้องได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 100 และโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนต้องหายไปจากประเทศไทย การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นกลวิธีในการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด
กระทรวงสาธารณสุขได้จัดให้มีการบริการวัคซีนขั้นพื้นฐานตามช่วงอายุที่เหมาะสม เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยทุกคน ตามสิทธิประโยชน์พื้นฐานในการบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คำแนะนำของคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งสำหรับโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่ให้บริการมีวัคซีน 11 ชนิด ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค (BCG) วัคซีนป้องกันโรค ตับอักเสบบี(HB) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี-ฮิบ (DTP-HB-Hib) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน (OPV) วัคซีนโรต้า (Rota) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด (IPV) วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (LAJE) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกจาก
เชื้อเอชพีวี (HPV) และวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) ซึ่งป้องกันทั้งหมด 13 โรค ได้แก่ โรคตับอักเสบบี วัณโรค
โรคคอตีบ โรคบาดทะยัก โรคไอกรน โรคฮิบ โรคโปลิโอ โรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า โรคหัด โรคหัดเยอรมัน โรคคางทูม
โรคไข้สมองอักเสบเจอี และมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี และกำหนดให้วัคซีนในผู้ใหญ่ ได้แก่ วัคซีนรวมป้องกันโรค
คอตีบ-บาดทะยัก (dT) วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) วัคซีนรวม ป้องกันโรคหัด-หัดเยอรมัน (MR) และวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี (HB)
ด้วยสภาพการณ์ปัจจุบัน การดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในพื้นที่หมู่ที่ 1,2 และหมู่ที่ 8
ตำบลบุดี มีประชากรเด็กอายุ 0- 5 ปี ปีงบประมาณ 2567 จำนวน 280 คน และได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 245 คน คิดเป็น 87.5 % ซึ่งต้องติดตามเด็กอีกจำนวน7 คน ถึงจะทำได้มากกว่า 90%ซึ่งได้รับความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี แต่ยังมีเด็กที่ฉีดวัคซีนล่าช้า ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย
การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นอกจากกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี แล้วยังมีกลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ที่ต้องได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV เนื่องจาก โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นโรคที่พบมากในหญิงไทยเป็นอันดับ 2
รองจากมะเร็งเต้านม ในแต่ละปี หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกสูงถึงปีละเกือบหมื่นราย และมีอัตราเสียชีวิตเกิน 50% นับว่าเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ การป้องกันด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส HPV ซึ่งเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกจึงเป็นแนวทางการป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด โดยหลักการสำคัญคือ ควรฉีดตั้งแต่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด
- 2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- 3. เพื่อให้กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ให้ความสำคัญ ในการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีน ในเด็กอายุ 0-5 ปี
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกHPV
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ร้อยละ 90 เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ร้อยละ 90
- ร้อยละ 80 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
- กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของเด็ก 0- 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ |
0.00 |
|
||
2 | 2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ให้ความสำคัญ ในการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 80 ของกลุ่มหญิงอายุ 11-20 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) 2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อให้กลุ่มหญิงที่มีอายุ 11-20 ปี ให้ความสำคัญ ในการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีน ในเด็กอายุ 0-5 ปี (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกHPV
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอะหมัดลุตฟี กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......