โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 ”
ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมาฮาซัน หะยีมุเสาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68
ที่อยู่ ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-01 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติด” เป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทยที่ต้องได้รับการแก้ไขโดยเร็วที่สุด เนื่องจากก่อให้เกิดอาชญากรรม เป็นปัญหาสังคมและเศรษฐกิจ และที่สำคัญคือเป็นตัวบ่อนทำลายเยาวชนซึ่งเป็นรากฐานของประเทศ
ปัจจุบันยาเสพติดได้แพร่ขยายเข้าสู่ชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรงและผลกระทบมากมาย โดยพบว่า ผู้ป่วยจิตเวชจากการเสพยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการรักษาในแต่ละปี ราวครึ่งหนึ่งเป็นผู้ที่ก่อความรุนแรงด้วย 4 ปัญหาใหญ่ จาก “ยาเสพติดในชุมชน” ได้แก่ 1) ปัญหาด้านสาธารณสุข ร่างกายของผู้ที่เสพยาเสพติดทรุดโทรม อ่อนแอ เสียสุขภาพ มีผลต่อระบบสมองและประสาท 2) ปัญหาด้านสังคม ทำให้สังคมเสื่อมโทรม เนื่องจากผู้เสพจำนวนมาก ไม่ยอมทำงาน ไม่เรียนหนังสือ และอาจเกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มผู้เสพยากับกลุ่มคนปกติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐในการใช้จ่ายเพื่อรักษาผู้ป่วยที่ติดยาเสพติดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ทั้งยังทำให้ขาดแรงงานที่มีประสิทธิภาพ 4.) ปัญหาอาชญากรรม เนื่องจากยาเสพติดทำให้ขาดสติ เกิดปัญหาลักทรัพย์ หรืออาชญากรรมต่าง ๆ เช่น จี้จับตัวเนื่องมาจากเกิดการหลอน และการประทุษร้ายผู้อื่น
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของกลุ่มเด็กและเยาวชนมักมีสาเหตุพื้นฐานมาจาก
1) สถานภาพทางครอบครัวที่พ่อแม่หย่าร้าง
2) อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนที่ชักจูงจนเกิดความอยากรู้และอยากลอง
3) ปัญหาพฤติกรรมลอกเลียนแบบจากกลุ่มเพื่อนหรือผู้ปกครอง
4) ความเสี่ยงที่เกิดจากสื่อที่มีการแสดงตัวอย่างจนทำให้เกิดความเข้าใจผิดในหมู่เยาวชน เช่น ความเท่ ความรวย ที่ได้จากการเสพยาและการจำหน่ายยาเสพติด
5) สภาพแวดล้อมในชุมชนและระดับการศึกษาที่ทำให้เยาวชนขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติด
หมู่บ้านคลองรีเป็นหมู่บ้านเล็กๆที่ติดทะเล เป็นชุมชนแออัดน้ำท่วมขังตลอดทั้งปีตามสภาวะน้ำขึ้นน้ำลงของทะเล แต่ก่อนมีการบาดของยาเสพติด ปัจจุบันได้เกิดชมรมต่างๆขึ้นในพื้นที่มีการจัดกิจกรรมในการเฝ้าระวังการระบาดยาเสพติดในพื้นที่อย่างต่อเนื่องส่งผลให้อัตราการระบาดของยาเสพติดลดลง เช่น กิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย กิจกรรมจิตอาสาเพื่อพัฒนาชุมชน กิจกรรมพี่ดูแลน้อง ทำให้เยาวชนและผู้ปกครองในชุมชนได้มีกิจกรรมร่วม เยาวชนมีความสามัคคีกัน ร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆอย่างสนุกสนุกสนาน ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งช่วยให้เยาวชนได้รวมตัวกันทำกิจกรรมที่ดีมีความรักในบ้านเกิด
ชมรมคนรักกีฬา ม.1 บ้านคลองรี เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่มีความใกล้ชิดกับทุกกลุ่มวัยในพื้นที่อยากเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีสุขภาพกายและใจที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะในกลุ่มของเยาวชนที่เป็นกำลังหลักของชุมชนในการทำกิจกรรมต่างๆ มีกิจกรรมปฏิสัมพันธ์กับเยาวชนมานานหลายปี จากการสังเกตและรวบรวมข้อมูลของชมรมพบว่าเยาวชนในพื้นที่เกาะเป็นกลุ่มกัน ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด มีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หากเยาวชนได้มีการรวมตัวกัน มีความเข้าใจในรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เหมือนกันก่อให้เกิดความสามัคคีกัน ภัยคุกคามต่างๆจากภายนอก ก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เพราะเยาวชนคือกำลัง พลัง อนาคตของชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง คนรอบข้าง ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทางชมรมจึงได้จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯเพื่อดำเนินการอย่างต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในพื้นที่
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติด เป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขับเคลื่อน
- ตาสับปะรด
- ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย
- จริยธรรมสร้างสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนได้ตระหนักให้ความสำคัญต่อสุขภาพของตนเอง และคนรอบข้าง
- เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่นในสถานศึกษา และชุมชุน
- สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนน่าอยู่
- เยาวชนตระหนักในกิจกรรมจิตอาสา
- เยาวชนเป็นกำลังหลักของหมู่บ้านในทุกเรื่อง
- เยาวชนมีความรู้สึกสำคัญมีคุณค่าในตนเอง และชุมชน
- คลองรีเป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในพื้นที่
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านคลองรีปลอดยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย
1.00
1.00
2
เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติด เป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ไม่พึ่งยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
60.00
54.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในพื้นที่ (2) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติด เป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขับเคลื่อน (2) ตาสับปะรด (3) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย (4) จริยธรรมสร้างสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมาฮาซัน หะยีมุเสาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 ”
ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมาฮาซัน หะยีมุเสาะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-01 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติด” เป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทยที่ต้องได้รับการแก้ไขโดยเร็วที่สุด เนื่องจากก่อให้เกิดอาชญากรรม เป็นปัญหาสังคมและเศรษฐกิจ และที่สำคัญคือเป็นตัวบ่อนทำลายเยาวชนซึ่งเป็นรากฐานของประเทศ
ปัจจุบันยาเสพติดได้แพร่ขยายเข้าสู่ชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรงและผลกระทบมากมาย โดยพบว่า ผู้ป่วยจิตเวชจากการเสพยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการรักษาในแต่ละปี ราวครึ่งหนึ่งเป็นผู้ที่ก่อความรุนแรงด้วย 4 ปัญหาใหญ่ จาก “ยาเสพติดในชุมชน” ได้แก่ 1) ปัญหาด้านสาธารณสุข ร่างกายของผู้ที่เสพยาเสพติดทรุดโทรม อ่อนแอ เสียสุขภาพ มีผลต่อระบบสมองและประสาท 2) ปัญหาด้านสังคม ทำให้สังคมเสื่อมโทรม เนื่องจากผู้เสพจำนวนมาก ไม่ยอมทำงาน ไม่เรียนหนังสือ และอาจเกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มผู้เสพยากับกลุ่มคนปกติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐในการใช้จ่ายเพื่อรักษาผู้ป่วยที่ติดยาเสพติดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ทั้งยังทำให้ขาดแรงงานที่มีประสิทธิภาพ 4.) ปัญหาอาชญากรรม เนื่องจากยาเสพติดทำให้ขาดสติ เกิดปัญหาลักทรัพย์ หรืออาชญากรรมต่าง ๆ เช่น จี้จับตัวเนื่องมาจากเกิดการหลอน และการประทุษร้ายผู้อื่น
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของกลุ่มเด็กและเยาวชนมักมีสาเหตุพื้นฐานมาจาก
1) สถานภาพทางครอบครัวที่พ่อแม่หย่าร้าง
2) อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนที่ชักจูงจนเกิดความอยากรู้และอยากลอง
3) ปัญหาพฤติกรรมลอกเลียนแบบจากกลุ่มเพื่อนหรือผู้ปกครอง
4) ความเสี่ยงที่เกิดจากสื่อที่มีการแสดงตัวอย่างจนทำให้เกิดความเข้าใจผิดในหมู่เยาวชน เช่น ความเท่ ความรวย ที่ได้จากการเสพยาและการจำหน่ายยาเสพติด
5) สภาพแวดล้อมในชุมชนและระดับการศึกษาที่ทำให้เยาวชนขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติด
หมู่บ้านคลองรีเป็นหมู่บ้านเล็กๆที่ติดทะเล เป็นชุมชนแออัดน้ำท่วมขังตลอดทั้งปีตามสภาวะน้ำขึ้นน้ำลงของทะเล แต่ก่อนมีการบาดของยาเสพติด ปัจจุบันได้เกิดชมรมต่างๆขึ้นในพื้นที่มีการจัดกิจกรรมในการเฝ้าระวังการระบาดยาเสพติดในพื้นที่อย่างต่อเนื่องส่งผลให้อัตราการระบาดของยาเสพติดลดลง เช่น กิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย กิจกรรมจิตอาสาเพื่อพัฒนาชุมชน กิจกรรมพี่ดูแลน้อง ทำให้เยาวชนและผู้ปกครองในชุมชนได้มีกิจกรรมร่วม เยาวชนมีความสามัคคีกัน ร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆอย่างสนุกสนุกสนาน ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งช่วยให้เยาวชนได้รวมตัวกันทำกิจกรรมที่ดีมีความรักในบ้านเกิด
ชมรมคนรักกีฬา ม.1 บ้านคลองรี เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่มีความใกล้ชิดกับทุกกลุ่มวัยในพื้นที่อยากเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีสุขภาพกายและใจที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะในกลุ่มของเยาวชนที่เป็นกำลังหลักของชุมชนในการทำกิจกรรมต่างๆ มีกิจกรรมปฏิสัมพันธ์กับเยาวชนมานานหลายปี จากการสังเกตและรวบรวมข้อมูลของชมรมพบว่าเยาวชนในพื้นที่เกาะเป็นกลุ่มกัน ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด มีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หากเยาวชนได้มีการรวมตัวกัน มีความเข้าใจในรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เหมือนกันก่อให้เกิดความสามัคคีกัน ภัยคุกคามต่างๆจากภายนอก ก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เพราะเยาวชนคือกำลัง พลัง อนาคตของชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง คนรอบข้าง ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทางชมรมจึงได้จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯเพื่อดำเนินการอย่างต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในพื้นที่
- เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติด เป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขับเคลื่อน
- ตาสับปะรด
- ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย
- จริยธรรมสร้างสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนได้ตระหนักให้ความสำคัญต่อสุขภาพของตนเอง และคนรอบข้าง
- เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่นในสถานศึกษา และชุมชุน
- สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนน่าอยู่
- เยาวชนตระหนักในกิจกรรมจิตอาสา
- เยาวชนเป็นกำลังหลักของหมู่บ้านในทุกเรื่อง
- เยาวชนมีความรู้สึกสำคัญมีคุณค่าในตนเอง และชุมชน
- คลองรีเป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในพื้นที่ ตัวชี้วัด : หมู่บ้านคลองรีปลอดยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย |
1.00 | 1.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติด เป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ไม่พึ่งยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง |
60.00 | 54.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในพื้นที่ (2) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลยาเสพติด เป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขับเคลื่อน (2) ตาสับปะรด (3) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย (4) จริยธรรมสร้างสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนคลองรี ปลอดยาเสพติด ปี 68 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมาฮาซัน หะยีมุเสาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......