โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ
พฤษภาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2542-2568 - 01-05 เลขที่ข้อตกลง 2568/05
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 16 พฤษภาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2542-2568 - 01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 16 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายวิภาค และสรีรวิทยาไปในทางที่เสื่อมถอย อาการเจ็บป่วยต่าง ๆ จึงเกิดได้ง่าย และรุนแรงกว่าช่วงวัยหนุ่มสาว ๆ เช่นเดียวกับอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (Muscle Pain) ซึ่งเกิดขึ้นได้มากกว่าวัยหนุ่มสาว โดยพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 50 มีปัญหาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเรื้อรัง ส่วนใหญ่เริ่มจากมีอาการปวดบริเวณคอ บ่าไหล่ หลัง และเข่า อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อส่วนบนมีปัจจัยและสาเหตุที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่มีการเสื่อมลง ซึ่งเป็นผลมาจากร่างกายลดความสามารถในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ประกอบกับเซลล์ของร่างกายมีความเสี่ยงที่จะถูกทำลายเพิ่มขึ้นจากสิ่งแวดล้อมและสารเคมี (Helme & Gibson, 2001) อาการดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตและการทำกิจกรรมของผู้สูงอายุอย่างยิ่ง อีกทั้งอาการเวียนศีรษะในผู้สูงอายุ เป็นปัญหาทางสาธารณสุขอีกปัญหาหนึ่งที่สำคัญที่ควรได้รับการแก้ไขเพื่อลดอัตราการป่วย และเสียชีวิตในผู้สูงอายุ ซึ่งการมีอายุมากขึ้น ร่างกายก็จะมีความถดถอยลงทั้งในด้านความแข็งแรงและการใช้งาน อาการเวียนศีรษะก็เป็นอีกหนึ่งอาการที่เกิดกับผู้สูงอายุ มีงานวิจัยระบุว่าร้อยละ 24 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 72 ปีขึ้นไปได้รับความทุกข์ทรมานจากอาการเวียนศีรษะเรื้อรัง และยังมีแนวโน้มที่มีความชุกมากขึ้นตามอายุอีกด้วย
ปัจจุบันการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อมีรูปแบบการรักษาที่นิยม คือ การรักษาทางศัลยกรรมด้วยการผ่าตัด และการใช้ยา เช่น ยาลดอาการอักเสบ และยาคลายกล้ามเนื้อ แต่การรักษาผู้ป่วยแบบนี้แบบนี้มีอาการข้างเคียง เช่น การใช้ยาต้านการอักเสบมีผลก่อให้เกิดการระคายเคืองในระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการนำแนวคิดการแพทย์แบบผสมผสานเข้ามาดูแลผู้ป่วยเพื่อลดปัญหาอาการข้างเคียงจากการใช้ยาและเป็นการเติมเต็มความสมบูรณ์ในการดูแลแบบองค์รวม (ลดาวัลย์ และคณะ, 2558) โดยมีรูปแบบการรักษามากมายหลายวิธี แต่วิธีการที่มีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ การนวด และการประคบ (ชาคริต และคณะ, 2557) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาโดยการนวดนั้นเป็นที่ยอมรับกันว่าสามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น อันเนื่องมาจากการทำงานในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี (เกศ, 2553) นอกจากนี้ยังมีการดูแลสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์ยาหม่องสมุนไพรและยาดมสมุนไพร โดยยาหม่องไพลมีคุณสมบัติช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ใช้ทาถู นวดบริเวณที่มีอาการ ซึ่งสารสำคัญของสมุนไพรจะซึมเข้าไปในบริเวณกล้ามเนื้อ ส่งเสริมให้การนวดมีผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น และการดมยาสมุนไพร ทำให้ร่างกายผ่อนคลาย สดชื่น บรรเทาอาการวิงเวียนศรีษะ หรือลดอาการหน้ามืด โดยยาดมสมุนไพรมีส่วนผสมของสมุนไพรที่มีสารสำคัญ และน้ำมันหอมระเหย ซึ่งสามารถสร้างความสดชื่นให้เราได้ดียามเหนื่อยล้า และช่วยลดอาการวิงเวียนศีรษะ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ โดยเป็นการส่งเสริมการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ซึ่งจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์ยาหม่องไพล และยาดมสมุนไพร เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถนำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นผลผลิต เพื่อจำหน่ายเป็นรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว ได้อีกด้วย ตลอดจนเพื่ออนุรักษ์ความเป็นไทยและภูมิปัญญาไทยคงไว้ อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ โดยการผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ
- 2. จัดทำสื่อการสอน/แผ่นพับ
- 3. ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร
- 4. สาธิต/สอน วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาหม่องและยาดมสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยด้วยตนเองได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้และทำเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำไวนิล เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ในกลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มวัยทำงาน โดยให้อสม.เชิญมาเข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเข้าร่วมโครงการ ครบตามจำนวน 30 คน
0
0
2. 2. จัดทำสื่อการสอน/แผ่นพับ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำสื่อการสอน เป็นชุดไวนิล ขนาด 160 X 60 cm 2 ชุด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร
0
0
3. 3. ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพร และวิธีการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร
0
0
4. 4. สาธิต/สอน วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สอนและสาธิต วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาหม่องและยาดมสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยด้วยตนเองได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้และทำเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ โดยการผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ โดยการผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) 2. จัดทำสื่อการสอน/แผ่นพับ (3) 3. ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร (4) 4. สาธิต/สอน วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2542-2568 - 01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
พฤษภาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2542-2568 - 01-05 เลขที่ข้อตกลง 2568/05
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 16 พฤษภาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2542-2568 - 01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 16 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายวิภาค และสรีรวิทยาไปในทางที่เสื่อมถอย อาการเจ็บป่วยต่าง ๆ จึงเกิดได้ง่าย และรุนแรงกว่าช่วงวัยหนุ่มสาว ๆ เช่นเดียวกับอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (Muscle Pain) ซึ่งเกิดขึ้นได้มากกว่าวัยหนุ่มสาว โดยพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 50 มีปัญหาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเรื้อรัง ส่วนใหญ่เริ่มจากมีอาการปวดบริเวณคอ บ่าไหล่ หลัง และเข่า อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อส่วนบนมีปัจจัยและสาเหตุที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่มีการเสื่อมลง ซึ่งเป็นผลมาจากร่างกายลดความสามารถในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ประกอบกับเซลล์ของร่างกายมีความเสี่ยงที่จะถูกทำลายเพิ่มขึ้นจากสิ่งแวดล้อมและสารเคมี (Helme & Gibson, 2001) อาการดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตและการทำกิจกรรมของผู้สูงอายุอย่างยิ่ง อีกทั้งอาการเวียนศีรษะในผู้สูงอายุ เป็นปัญหาทางสาธารณสุขอีกปัญหาหนึ่งที่สำคัญที่ควรได้รับการแก้ไขเพื่อลดอัตราการป่วย และเสียชีวิตในผู้สูงอายุ ซึ่งการมีอายุมากขึ้น ร่างกายก็จะมีความถดถอยลงทั้งในด้านความแข็งแรงและการใช้งาน อาการเวียนศีรษะก็เป็นอีกหนึ่งอาการที่เกิดกับผู้สูงอายุ มีงานวิจัยระบุว่าร้อยละ 24 ของผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 72 ปีขึ้นไปได้รับความทุกข์ทรมานจากอาการเวียนศีรษะเรื้อรัง และยังมีแนวโน้มที่มีความชุกมากขึ้นตามอายุอีกด้วย
ปัจจุบันการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อมีรูปแบบการรักษาที่นิยม คือ การรักษาทางศัลยกรรมด้วยการผ่าตัด และการใช้ยา เช่น ยาลดอาการอักเสบ และยาคลายกล้ามเนื้อ แต่การรักษาผู้ป่วยแบบนี้แบบนี้มีอาการข้างเคียง เช่น การใช้ยาต้านการอักเสบมีผลก่อให้เกิดการระคายเคืองในระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการนำแนวคิดการแพทย์แบบผสมผสานเข้ามาดูแลผู้ป่วยเพื่อลดปัญหาอาการข้างเคียงจากการใช้ยาและเป็นการเติมเต็มความสมบูรณ์ในการดูแลแบบองค์รวม (ลดาวัลย์ และคณะ, 2558) โดยมีรูปแบบการรักษามากมายหลายวิธี แต่วิธีการที่มีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ การนวด และการประคบ (ชาคริต และคณะ, 2557) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาโดยการนวดนั้นเป็นที่ยอมรับกันว่าสามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น อันเนื่องมาจากการทำงานในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี (เกศ, 2553) นอกจากนี้ยังมีการดูแลสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์ยาหม่องสมุนไพรและยาดมสมุนไพร โดยยาหม่องไพลมีคุณสมบัติช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ใช้ทาถู นวดบริเวณที่มีอาการ ซึ่งสารสำคัญของสมุนไพรจะซึมเข้าไปในบริเวณกล้ามเนื้อ ส่งเสริมให้การนวดมีผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น และการดมยาสมุนไพร ทำให้ร่างกายผ่อนคลาย สดชื่น บรรเทาอาการวิงเวียนศรีษะ หรือลดอาการหน้ามืด โดยยาดมสมุนไพรมีส่วนผสมของสมุนไพรที่มีสารสำคัญ และน้ำมันหอมระเหย ซึ่งสามารถสร้างความสดชื่นให้เราได้ดียามเหนื่อยล้า และช่วยลดอาการวิงเวียนศีรษะ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ โดยเป็นการส่งเสริมการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ซึ่งจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์ยาหม่องไพล และยาดมสมุนไพร เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถนำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นผลผลิต เพื่อจำหน่ายเป็นรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว ได้อีกด้วย ตลอดจนเพื่ออนุรักษ์ความเป็นไทยและภูมิปัญญาไทยคงไว้ อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ โดยการผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ
- 2. จัดทำสื่อการสอน/แผ่นพับ
- 3. ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร
- 4. สาธิต/สอน วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาหม่องและยาดมสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยด้วยตนเองได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้และทำเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำไวนิล เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ในกลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มวัยทำงาน โดยให้อสม.เชิญมาเข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย สามารถเข้าร่วมโครงการ ครบตามจำนวน 30 คน
|
0 | 0 |
2. 2. จัดทำสื่อการสอน/แผ่นพับ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำสื่อการสอน เป็นชุดไวนิล ขนาด 160 X 60 cm 2 ชุด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร
|
0 | 0 |
3. 3. ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพร และวิธีการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร
|
0 | 0 |
4. 4. สาธิต/สอน วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสอนและสาธิต วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ โดยการผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
50.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ โดยการผลิต ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) 2. จัดทำสื่อการสอน/แผ่นพับ (3) 3. ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้ทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร (4) 4. สาธิต/สอน วิธีการทำยาหม่องไพลและยาดมสมุนไพร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2542-2568 - 01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......