โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 ”
หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจีราภรณ์ เหมริหนี ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหวัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 17 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,195.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรค NCDs (Non-Communicable Diseases) หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่กำลังแพร่ระบาดทั่วโลก ซึ่งรวมถึงโรคเบาหวาน, โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคมะเร็ง, โรคอ้วน และโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง ปัจจุบัน NCDs เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในโลก โดยเฉพาะในประเทศที่มีการพัฒนาและประเทศกำลังพัฒนา โดยโรค NCDs ได้คร่าชีวิตประชากรโลกกว่า 70% ทุกปี และพบอัตราการเกิดโรค NCDs เพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่ไม่สุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารที่ไม่ดี การไม่ออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเสี่ยงหลักของ NCDs คือ การมีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง น้ำตาล และเกลือสูง การขาดการออกกำลังกาย และการใช้ชีวิตที่มีความเครียด ประเทศไทยเผชิญกับปัญหา NCDs อย่างรุนแรง โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของประชากร รวมถึงการรับประทานอาหารที่มีปริมาณน้ำตาล ไขมันสูง และการขาดการออกกำลังกาย ส่งผลให้เกิดโรคเหล่านี้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยปัจจัยเสี่ยงหลักที่ทำให้เกิด NCDs คือ พฤติกรรมการกินอาหารที่ไม่ดี, การไม่ออกกำลังกาย, การสูบบุหรี่, และการดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขมีการดำเนินโครงการต่าง ๆ เช่น การรณรงค์ลดการบริโภคอาหารที่มีไขมัน น้ำตาล และเกลือสูง รวมทั้งการส่งเสริมการออกกำลังกายและการตรวจสุขภาพประจำปี
ในปี 2565-2567 จังหวัดพัทลุง พบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 1077.04 ,1290.02,1549.96 ต่อแสนประชากรพบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคเบาหวาน เท่ากับ 579.09 ,705.50,760.84 ต่อแสนประชากรและอำเภอกงหรา พบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 1077.04 ,1290.02,1549.96 ต่อแสนประชากรพบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคเบาหวาน เท่ากับ 506.92 ,604.58,632.14 ต่อแสนประชากร( ข้อมูลจากระบบคลังโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง จังหวัดพัทลุง) ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหวัง ซึ่งเป็นกลุ่มองค์กรที่ทำหน้าที่ด้านสุขภาพเบื้องต้นของประชาชน อยู่ใกล้ชิดประชาชนในชุมชนมากที่สุด ช่วยเหลือหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ด้านบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพและให้บริการ รักษาโรคเบื้องต้นในเขตพื้นที่ตำบลสมหวัง ตระหนักถึงความสำคัญที่จะดูแลสุขภาพแก่ประชาชน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ตามหลัก 3อ.2ส.1ฟ. เพื่อประชาชนได้รับความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสม มีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค จึงได้จัดทำโครงการชีวิตดีวิถีใหม่ ห่างไกลโรคNCDs สำหรับประชาชนในเขตรับผิดชอบ หมู่ที่ 3,4 ตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในครั้งนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอุบัติการณ์ การเกิดโรค NCDs (โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง)
- เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วางแผนงานการดำเนินงาน
- 1.จัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง
- จัดกิจกรรรมในผู้ป่วยโรคNCD
- ส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกเบาหวานอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
813
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 20 ต่อแสนประชากร
2.อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง ร้อยละ 10 ภายในระยะเวลา 5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอุบัติการณ์ การเกิดโรค NCDs (โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง)
ตัวชี้วัด : อุบัติการณ์ การเกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 10
80.00
60.00
2
เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : Health Station ในหมู่บ้านมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
80.00
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
813
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
813
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอุบัติการณ์ การเกิดโรค NCDs (โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง) (2) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนงานการดำเนินงาน (2) 1.จัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง (3) จัดกิจกรรรมในผู้ป่วยโรคNCD (4) ส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกเบาหวานอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจีราภรณ์ เหมริหนี ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 ”
หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจีราภรณ์ เหมริหนี ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหวัง
กันยายน 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 17 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,195.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรค NCDs (Non-Communicable Diseases) หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่กำลังแพร่ระบาดทั่วโลก ซึ่งรวมถึงโรคเบาหวาน, โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคมะเร็ง, โรคอ้วน และโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง ปัจจุบัน NCDs เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในโลก โดยเฉพาะในประเทศที่มีการพัฒนาและประเทศกำลังพัฒนา โดยโรค NCDs ได้คร่าชีวิตประชากรโลกกว่า 70% ทุกปี และพบอัตราการเกิดโรค NCDs เพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่ไม่สุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารที่ไม่ดี การไม่ออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเสี่ยงหลักของ NCDs คือ การมีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง น้ำตาล และเกลือสูง การขาดการออกกำลังกาย และการใช้ชีวิตที่มีความเครียด ประเทศไทยเผชิญกับปัญหา NCDs อย่างรุนแรง โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของประชากร รวมถึงการรับประทานอาหารที่มีปริมาณน้ำตาล ไขมันสูง และการขาดการออกกำลังกาย ส่งผลให้เกิดโรคเหล่านี้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยปัจจัยเสี่ยงหลักที่ทำให้เกิด NCDs คือ พฤติกรรมการกินอาหารที่ไม่ดี, การไม่ออกกำลังกาย, การสูบบุหรี่, และการดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขมีการดำเนินโครงการต่าง ๆ เช่น การรณรงค์ลดการบริโภคอาหารที่มีไขมัน น้ำตาล และเกลือสูง รวมทั้งการส่งเสริมการออกกำลังกายและการตรวจสุขภาพประจำปี ในปี 2565-2567 จังหวัดพัทลุง พบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 1077.04 ,1290.02,1549.96 ต่อแสนประชากรพบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคเบาหวาน เท่ากับ 579.09 ,705.50,760.84 ต่อแสนประชากรและอำเภอกงหรา พบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 1077.04 ,1290.02,1549.96 ต่อแสนประชากรพบอัตราป่วยรายใหม่ ในโรคเบาหวาน เท่ากับ 506.92 ,604.58,632.14 ต่อแสนประชากร( ข้อมูลจากระบบคลังโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง จังหวัดพัทลุง) ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหวัง ซึ่งเป็นกลุ่มองค์กรที่ทำหน้าที่ด้านสุขภาพเบื้องต้นของประชาชน อยู่ใกล้ชิดประชาชนในชุมชนมากที่สุด ช่วยเหลือหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ด้านบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพและให้บริการ รักษาโรคเบื้องต้นในเขตพื้นที่ตำบลสมหวัง ตระหนักถึงความสำคัญที่จะดูแลสุขภาพแก่ประชาชน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ตามหลัก 3อ.2ส.1ฟ. เพื่อประชาชนได้รับความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสม มีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค จึงได้จัดทำโครงการชีวิตดีวิถีใหม่ ห่างไกลโรคNCDs สำหรับประชาชนในเขตรับผิดชอบ หมู่ที่ 3,4 ตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในครั้งนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอุบัติการณ์ การเกิดโรค NCDs (โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง)
- เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วางแผนงานการดำเนินงาน
- 1.จัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง
- จัดกิจกรรรมในผู้ป่วยโรคNCD
- ส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกเบาหวานอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 813 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 20 ต่อแสนประชากร 2.อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง ร้อยละ 10 ภายในระยะเวลา 5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอุบัติการณ์ การเกิดโรค NCDs (โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง) ตัวชี้วัด : อุบัติการณ์ การเกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 10 |
80.00 | 60.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด : Health Station ในหมู่บ้านมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100 |
80.00 | 60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 813 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 813 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอุบัติการณ์ การเกิดโรค NCDs (โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง) (2) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนงานการดำเนินงาน (2) 1.จัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง (3) จัดกิจกรรรมในผู้ป่วยโรคNCD (4) ส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยในคลินิกเบาหวานอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคนไทยห่างไกล NCDs ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจีราภรณ์ เหมริหนี ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......