โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายมนตรี จรียานุวัฒน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2)
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,982.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุอันดับต้นของการเสียชีวิตในเด็กไทย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี สถานการณ์ดังกล่าว
มักเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น บ่อน้ำ ลำคลอง หรือแหล่งน้ำชุมชน ซึ่งเด็กมักขาดความรู้ ความระมัดระวัง และการดูแลอย่างเพียงพอจากผู้ปกครอง นอกจากนี้ ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำยังไม่ถูกสอนอย่างแพร่หลายในโรงเรียนและชุมชน ส่งผลให้ความเสี่ยงต่อการจมน้ำของเด็กยังคงสูง จากตัวเลขสถิติการเสียชีวิตที่ไม่น้อยทำให้ "การจมน้ำ" จึงถูกองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศเป็นหนึ่งในภัยเร่งด่วนต่อสุขภาพของสาธารณชน โดยในทางปฏิบัติ WHO และประเทศสมาชิกทั่วโลก ต่างพยายามสร้างความตระหนักและส่งเสริมการดำเนินงานขับเคลื่อนที่สอดประสานกันเพื่อป้องกันภัยจากการจมน้ำร่วมกันมาอย่างต่อเนื่อง ในปีหนึ่ง ๆ ทั่วโลก ต้องสูญเสียชีวิตผู้คนไปกว่า 3 แสนคน จากอุบัติเหตุจมน้ำ โดยกว่าร้อยละ 90
ขณะที่ในประเทศไทย "การจมน้ำ" เป็นสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรเป็นอันดับ 1 ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุก ๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุก ๆ 1 เดือนประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการ
จมน้ำเสียชีวิตมากกว่า 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2551-2561) ประเทศไทยสูญเสียเด็กไปแล้วถึง 11,323 คน
ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่กระทบต่อคุณภาพ ดังนั้นความรู้ในการป้องกันตนเอง การช่วยฟื้นคืนชีพ รวมทั้งทักษะในการช่วย
ชีวิต โดยใช้หลักการตะโกน โยน ยื่น พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี
เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เด็กมีชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันได้
เนื่องด้วยโรงเรียนอนุบาลควนกาหลง ได้มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ได้เสียชีวิตจากการจมน้ำ และในพื้นที่อำเภอ
ควนกาหลงมีแหล่งน้ำ และพื้นที่เสี่ยงหลายจุด โรงเรียนอนุบาลควนกาหลงได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาการจมน้ำและการ
ช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำในเด็กวัยเรียน และเป็นการป้องกันก่อนปัญหาจะเกิดขึ้น จึงได้จัดทำกิจกรรมการป้องกันการจมน้ำ
ประจำปี 256๘ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การป้องกันการจมน้ำในเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยจากสถานการณ์อันตรายในน้ำได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การป้องกันการจมน้ำในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมนตรี จรียานุวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายมนตรี จรียานุวัฒน์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,982.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุอันดับต้นของการเสียชีวิตในเด็กไทย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี สถานการณ์ดังกล่าว
มักเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น บ่อน้ำ ลำคลอง หรือแหล่งน้ำชุมชน ซึ่งเด็กมักขาดความรู้ ความระมัดระวัง และการดูแลอย่างเพียงพอจากผู้ปกครอง นอกจากนี้ ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำยังไม่ถูกสอนอย่างแพร่หลายในโรงเรียนและชุมชน ส่งผลให้ความเสี่ยงต่อการจมน้ำของเด็กยังคงสูง จากตัวเลขสถิติการเสียชีวิตที่ไม่น้อยทำให้ "การจมน้ำ" จึงถูกองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศเป็นหนึ่งในภัยเร่งด่วนต่อสุขภาพของสาธารณชน โดยในทางปฏิบัติ WHO และประเทศสมาชิกทั่วโลก ต่างพยายามสร้างความตระหนักและส่งเสริมการดำเนินงานขับเคลื่อนที่สอดประสานกันเพื่อป้องกันภัยจากการจมน้ำร่วมกันมาอย่างต่อเนื่อง ในปีหนึ่ง ๆ ทั่วโลก ต้องสูญเสียชีวิตผู้คนไปกว่า 3 แสนคน จากอุบัติเหตุจมน้ำ โดยกว่าร้อยละ 90
ขณะที่ในประเทศไทย "การจมน้ำ" เป็นสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรเป็นอันดับ 1 ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุก ๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุก ๆ 1 เดือนประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการ
จมน้ำเสียชีวิตมากกว่า 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2551-2561) ประเทศไทยสูญเสียเด็กไปแล้วถึง 11,323 คน
ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่กระทบต่อคุณภาพ ดังนั้นความรู้ในการป้องกันตนเอง การช่วยฟื้นคืนชีพ รวมทั้งทักษะในการช่วย
ชีวิต โดยใช้หลักการตะโกน โยน ยื่น พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี
เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เด็กมีชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันได้
เนื่องด้วยโรงเรียนอนุบาลควนกาหลง ได้มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ได้เสียชีวิตจากการจมน้ำ และในพื้นที่อำเภอ
ควนกาหลงมีแหล่งน้ำ และพื้นที่เสี่ยงหลายจุด โรงเรียนอนุบาลควนกาหลงได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาการจมน้ำและการ
ช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำในเด็กวัยเรียน และเป็นการป้องกันก่อนปัญหาจะเกิดขึ้น จึงได้จัดทำกิจกรรมการป้องกันการจมน้ำ
ประจำปี 256๘ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การป้องกันการจมน้ำในเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยจากสถานการณ์อันตรายในน้ำได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การป้องกันการจมน้ำในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ (ประเภทที่ 2) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมนตรี จรียานุวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......