กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เรียนมีความสุข ”
ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอัสฮาร์ อัสมะแอ




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เรียนมีความสุข

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2480-2-08 เลขที่ข้อตกลง 22/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เรียนมีความสุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เรียนมีความสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เรียนมีความสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2480-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนก็เป็นสถาบันหนึ่งของสังคมมีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดีสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้วการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยแก่นักเรียน การให้บริการด้านสุขภาพอนามัยการให้ความรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปัจจุบัน ความสำคัญของอาหารและหลักโภชนาการที่ดี มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตตามวัยและมีคุณภาพของเด็กนักเรียนในระบบการจัดการศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนซึ่งอยู่ในช่วงที่ร่างกายและสมองด้านการเรียนรู้จะมีพัฒนาการอย่างเห็นได้ชัดในช่วงที่ได้เข้าเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและสติปัญญาอันเกิดจากระบวนการที่สารอาหารไปหล่อเลี้ยงเซลล์เนื้อเยื่อและควบคุมการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย หากเด็กนักเรียนได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและมีความรู้ความเข้าใจในหลักการโภชนาการที่ดี ย่อมส่งผลต่อสุขภาวะที่ดีต่อตนเองและครอบครัว สังคมและประเทศชาติ การดูแลเรื่องอาหารที่บริโภค จึงมิได้มุ่งเพียงจัดอาหารที่มีรสดี ปรุงแต่งประณีตและราคาย่อมเยามาบริโภคเท่านั้น แต่ต้องรู้จักเลือกเฟ้นและปรุงแต่งอาหารให้มีคุณค่าสูง ไม่มีโทษต่อร่างกาย และสามารถใช้ประโยชน์ ในการเสริมสร้างอนามัยได้มากที่สุด ดังคำกล่าวที่ว่า“ อาหารคือตัวเรา(You are what you eat) ” ด้วยเหตุนี้โรงเรียนราชประสงค์ มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการบริโภคอาหารที่ดี จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างสุขภาพ นักเรียนมีความสุขขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพร่างกายได้ถูกต้อง รู้จักการการบริโภคอาหารที่ดีมีประโยชน์ ถูกสุขลักษณะ รู้จักเลือกอาหารในการปรุงอาหารให้ครบห้าหมู่ ตลอดจนนักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ การณ์ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยนักเรียนให้ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ
  2. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการโภชนาการที่ดีและรู้จักเลือกวัตถุดิบที่ดี มีประโยชน์ต่อร่างกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยให้ปลอดภัยจากโรครัไข้เจ็บ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนมีสุขภาพดีทุกคน 2. นักเรียน ครู และบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจในหลักการโภชนาการที่ดีและรู้จักเลือกวัตถุดิบที่ดี มีประโยชน์ต่อร่างกาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยนักเรียนให้ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 รักสุขภาพและตระหนักในการ ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยนักเรียนให้ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ
100.00 80.00

 

2 เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการโภชนาการที่ดีและรู้จักเลือกวัตถุดิบที่ดี มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ดี มีประโยชน์
100.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 66
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยนักเรียนให้ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ (2) เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการโภชนาการที่ดีและรู้จักเลือกวัตถุดิบที่ดี มีประโยชน์ต่อร่างกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยให้ปลอดภัยจากโรครัไข้เจ็บ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เรียนมีความสุข จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2480-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัสฮาร์ อัสมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด