กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทักษะการช่วยเหลือตนเอง (กรณีเด็กติดในรถ จมน้ำ/การหนีภัย) ”
ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางปราณี หลีตระกูล




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทักษะการช่วยเหลือตนเอง (กรณีเด็กติดในรถ จมน้ำ/การหนีภัย)

ที่อยู่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5230-03-03 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทักษะการช่วยเหลือตนเอง (กรณีเด็กติดในรถ จมน้ำ/การหนีภัย) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทักษะการช่วยเหลือตนเอง (กรณีเด็กติดในรถ จมน้ำ/การหนีภัย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทักษะการช่วยเหลือตนเอง (กรณีเด็กติดในรถ จมน้ำ/การหนีภัย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5230-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ภัยพิบัติได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทำ ของมนุษย์ หรือแม้แต่การเสื่อมสภาพของอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวันจะเห็นได้จากสื่อต่าง ๆ อาทิไฟไหมอาคาร บ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม โรงเรียน ล้วนสร้างความสูญเสียอย่างมากมาย ซึ่งเราอาจมองภัยพิบัติที่ห่างตัวเราแต่เราไม่มองภัยที่อยู่ใกล้ตัวเรา ดังนั้นเด็กปฐมวัยจึงเป็นวัยที่ต้องถูกสอนและได้ปฏิบัติซ้ำๆ ในเรื่องความปลอดภัย การให้เด็กได้ทำกิจกรรมช้ำๆ ที่ได้ใช้ร่างกายในการมอง ฟัง และเคลื่อนไหว ทำให้เด็กได้ซึมซับข้อมูลที่เป็นนามธรรมได้ง่าย หลักในการป้องกันการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยและเพิ่มการควบคุมดูแลให้มากขึ้น การสอนเด็ก ให้ป้องกันตนเอง และการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยที่ไม่ทำให้เด็กและผู้ปกครองรู้สึกถูกบังคับ เช่นการคาดเข็มขัดนิรภัย ต้องทำให้เด็กและผู้ปกครองรู้ว่าเมื่อขึ้นรถต้องคาดเข็มขัดนิรภัยทันที เป้าหมายสูงสุดของการเรียนเรื่องความปลอดภัย คือทำให้เด็กปฐมวัยเกิดการลงมือปฏิบัติ เด็กควรได้รับการเตรียมตัวให้รู้จักกับสถานการณ์ที่อันตรายเพื่อพัฒนาทักษะและความรู้ เด็กต้องได้รับการสอนให้สังเกต เข้าใจ เชื่อฟังและปฏิบัติตามกฎและข้อปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอเพื่อความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น ครูต้องกระตุ้นให้เด็กได้เห็นถึงคุณค่าและเคารพกฎ เด็กย่อมมีแนวโน้มในการป้องกันอุบัติเหตุของตนเองและผู้อื่นได้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองกั่ว เห็นว่าการส่งเสริมความปลอดภัยด้านร่างกายให้เด็กเล็กเป็นสิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ การสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน หรือการประสบปัญหาสุขภาพที่อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจต่อไปในอนาคต เช่นความพิการ การได้รับการกระทบกระเทือนทางสมอง จึงได้จัดโครงการอบรมซ้อมแผนป้องกันภัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขึ้น
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองกั่ว จึงจัดกิจกรรมโครงการมีการซ้อมการหนีภัยที่เหมาะกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เช่นการใช้บันได อุปกรณ์เครื่องใช้ในห้องเรียน การป้องกันอัคคีภัย ได้แก่ อันตรายจากไฟ การซ้อมดับเพลิง และการสื่อสารกับผู้ใหญ่ทันทีเมื่อเกิดไฟไหม้ ความปลอดภัยในบ้าน ได้แก่การเก็บของเล่นและสิ่งของต่างๆ ให้เข้าที่ การไม่จับ หรือสัมผัสยา ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ยาฆ่าแมลง หรือสารพิษต่างๆ การระมัดระวังการใช้กรรไกร ของมีคม วิธีการใช้ของเล่นให้ปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยและสามารถใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุการณ์จริง
  2. เพื่อฝึกซ้อมเด็กนักเรียนและครูในการอพยพหนีไฟ
  3. เพื่อให้เด็กนักเรียนและครูมีความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ซ้อมเหตุการณ์สมมติเมื่อเกิดอัคคีภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยและสามารถใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุการณ์จริง 2.เด็กนักเรียนและครูรู้จักการอพยพหนีไฟ 3.เด็กนักเรียนและครูมีความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยและสามารถใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุการณ์จริง
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยและสามารถใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุการณ์จริง
0.00

 

2 เพื่อฝึกซ้อมเด็กนักเรียนและครูในการอพยพหนีไฟ
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและครูรู้จักการอพยพหนีไฟ
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กนักเรียนและครูมีความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและครูมีความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 86
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใช้อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยและสามารถใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุการณ์จริง (2) เพื่อฝึกซ้อมเด็กนักเรียนและครูในการอพยพหนีไฟ (3) เพื่อให้เด็กนักเรียนและครูมีความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ซ้อมเหตุการณ์สมมติเมื่อเกิดอัคคีภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทักษะการช่วยเหลือตนเอง (กรณีเด็กติดในรถ จมน้ำ/การหนีภัย) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5230-03-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปราณี หลีตระกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด