โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs ”
ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุมารถ เงินละเอียด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs
ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-15 เลขที่ข้อตกลง 8/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3331-03-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง) เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรืพฤติกรรมการดำเนิน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วนลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง และโรคมะเร็ง ซึ่งถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของโรค จากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรค NCDs มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 38 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 68 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรโลก) นอกจากปัจจัยทางกรรมพันธุ์ที่ส่งเสริมการเกิดโรคแล้ว การมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ทั้งด้านอาหารโดยการรับประทานอาหารเค็ม มัน หวาน ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดสูงเรื้อรัง ดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่เป็นประจำ นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญก่อให้เกิดโรคดังกล่าว หากนักเรียนมีความรู้ด้านสุขภาพ ตระหนักในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมจะสามารถดูแลตนเอง สามารถลดโอกาสการเกิดโรค
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable diseases: NCDs) เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคอ้วน กำลังเป็นปัญหาสุขภาพที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มวัยรุ่นและนักเรียน สาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง การขาดการออกกำลังกาย และพฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ การสร้างเสริมสุขภาพตั้งแต่วัยเรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญ ในการลดความเสี่ยงต่อโรค NCDs และเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ยั่งยืน จากการประเมินผลการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการนักเรียนโรงเรียนอนุบาลบางแก้ว พบว่ามีนักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์น้อยลง และนักเรียนที่มีน้ำหนกเกนเกณฑ์ แนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลบางแก้วได้เห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs โดยการจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย ให้ความรู้ เรื่องการเลือกรับประทานอาหารและการควบคุมการรับประทานอาหาร มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน การติดตามกลุ่มนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ และการตรวจสุขภาพ (โรคอ้วน) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs เพิ่มขึ้น
- เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส 1 ฟ และ โรค NCDs
- กิจกรรมออกกำลังกาย (HulaHoop)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
190
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
- มีต้นแบบนักเรียนที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
- ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของนักเรียน
- โรงเรียนลดความเสี่ยงของนักเรียนเป็นโรค NCDs
- นักเรียนมีพฤฤติกรรมการรับประทานที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
190.00
2
เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
190.00
3
เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : เพื่อให้นกเรียนมีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
190.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
197
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
190
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs เพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ (3) เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส 1 ฟ และ โรค NCDs (2) กิจกรรมออกกำลังกาย (HulaHoop)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุมารถ เงินละเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs ”
ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุมารถ เงินละเอียด
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-15 เลขที่ข้อตกลง 8/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3331-03-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง) เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรืพฤติกรรมการดำเนิน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วนลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง และโรคมะเร็ง ซึ่งถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของโรค จากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรค NCDs มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 38 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 68 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรโลก) นอกจากปัจจัยทางกรรมพันธุ์ที่ส่งเสริมการเกิดโรคแล้ว การมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ทั้งด้านอาหารโดยการรับประทานอาหารเค็ม มัน หวาน ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดสูงเรื้อรัง ดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่เป็นประจำ นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญก่อให้เกิดโรคดังกล่าว หากนักเรียนมีความรู้ด้านสุขภาพ ตระหนักในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมจะสามารถดูแลตนเอง สามารถลดโอกาสการเกิดโรค โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable diseases: NCDs) เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคอ้วน กำลังเป็นปัญหาสุขภาพที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มวัยรุ่นและนักเรียน สาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง การขาดการออกกำลังกาย และพฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ การสร้างเสริมสุขภาพตั้งแต่วัยเรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญ ในการลดความเสี่ยงต่อโรค NCDs และเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ยั่งยืน จากการประเมินผลการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการนักเรียนโรงเรียนอนุบาลบางแก้ว พบว่ามีนักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์น้อยลง และนักเรียนที่มีน้ำหนกเกนเกณฑ์ แนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลบางแก้วได้เห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs โดยการจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย ให้ความรู้ เรื่องการเลือกรับประทานอาหารและการควบคุมการรับประทานอาหาร มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน การติดตามกลุ่มนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ และการตรวจสุขภาพ (โรคอ้วน) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs เพิ่มขึ้น
- เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส 1 ฟ และ โรค NCDs
- กิจกรรมออกกำลังกาย (HulaHoop)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 190 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
- มีต้นแบบนักเรียนที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
- ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของนักเรียน
- โรงเรียนลดความเสี่ยงของนักเรียนเป็นโรค NCDs
- นักเรียนมีพฤฤติกรรมการรับประทานที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้เข้ารับอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 |
190.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 |
190.00 |
|
||
3 | เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด : เพื่อให้นกเรียนมีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 |
190.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 197 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 190 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs เพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ (3) เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส 1 ฟ และ โรค NCDs (2) กิจกรรมออกกำลังกาย (HulaHoop)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน ห่างไกลโรค NCDs จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุมารถ เงินละเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......