โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอสดี เงาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs
ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-01-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3013-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,065.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว ความนิยมวัฒนธรรมตะวันตกก็มีมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิต (Life style) มีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ความเครียด การสูบบุหรี่ ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มาจากพฤติกรรมสุขภาพมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคนำไปสู่การเกิดโรคอื่นๆ อีกหลายๆโรค และนำไปสู่การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จึงจะสามารถป้องกันโรคได้
โดยในทุกๆ ปี ที่ผ่านทีมสุขภาพ พบว่าได้ลงพื้นที่เพื่อทำการตรวจคัดกรองโรคในชุมชน และพบว่า มีผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีมากกว่าร้อยละ 70 ซึ่งในกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวพบว่า มีพฤติกรรมเสี่ยงหลายอย่าง เช่น ไม่ออกกำลังกาย กินคาร์โบไฮเดรตและไขมันเยอะเกิน สูบบุหรี่จัด ภาวะเครียด ส่วนปัจจัยด้านอื่นๆ ที่อาจมีความเกี่ยวเนื่องกันได้ ก็คือ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งพบว่าคนที่มีบิดา มารดา มีภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวาน ก็มัก จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะป่วยด้วยโรคเหล่านี้มากกว่าคนปกติทั่วไป อีกทั้ง ในกลุ่มประชากรทีมีภาวะเสี่ยงสูง กลุ่มแฝง ถ้าไม่ได้รับการดูแล/รักษาอย่างต่อเนื่อง หรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม อาจพัฒนาไปสู่การป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ได้ในอนาคต เนื่องจากคนที่มีภาวะความดันโลหิตสูง หรือเบาหวานระยะแรกๆ ส่วนใหญ่ มักไม่ค่อยรู้ตัว ดังนั้นโอกาสจะเกิดโรคแทรกซ้อนก็มีมากตามไปด้วย โดยทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อหัวใจ ไต ตา และสมอง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ดังนั้นจึงเปรียบภาวะความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ว่าเป็น “ภัยเงียบ” หรือ “ฆาตกรเงียบ” นั่นเอง
ตำบลบานามีประชากรทั้งหมด 21,934 คน ผู้สูงอายุ 2,619 คน เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 30 สาเหตุเกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และความขาดความตระหนักในการตรวจสุขภาพ รับประทานยาไม่สม่ำเสมอและไม่พบแพทย์ตามนัด ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบานา ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการคัดกรอง NCD เชิงรุกเพื่อสุขภาพที่ดีของชาวบานา” ขึ้น เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงสูง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถดูแลสุขภาพตนเอง เลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ส่วนในรายที่สงสัยป่วยใหม่ได้รับการส่งต่อ เพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่องและช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังเชิงรุก และได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น
- ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา
- ให้ความรู้และคำแนะนำการดูแลสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรังรายบุคคล
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 1
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 2
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 3
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4
- ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 5
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 6
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 7
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 8
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 9
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 10
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 11
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
330
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคความดัน เบาหวานและได้รับการส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 1
วันที่ 11 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
2. ให้ความรู้และคำแนะนำการดูแลสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรังรายบุคคล
วันที่ 11 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
330
0
3. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 2
วันที่ 17 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
4. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 3
วันที่ 18 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
5. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4
วันที่ 21 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
6. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4
วันที่ 21 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
7. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 5
วันที่ 22 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
8. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 6
วันที่ 23 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
9. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 7
วันที่ 24 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
10. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 8
วันที่ 25 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
11. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 9
วันที่ 28 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
12. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 10
วันที่ 29 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
13. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 11
วันที่ 30 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
5
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ได้รับความรู้และคำแนะนำสุขภาพรายบุคคล
0.00
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังเชิงรุก และได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้นและได้รับใบส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่องสำหรับกลุ่มเสีียง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
330
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
330
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังเชิงรุก และได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น (2) ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา (3) ให้ความรู้และคำแนะนำการดูแลสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรังรายบุคคล (4) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 1 (5) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 2 (6) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 3 (7) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4 (8) ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา (9) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 5 (10) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 6 (11) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 7 (12) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 8 (13) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 9 (14) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 10 (15) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 11
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะรอสดี เงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอสดี เงาะ
เมษายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-01-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3013-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,065.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว ความนิยมวัฒนธรรมตะวันตกก็มีมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิต (Life style) มีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ความเครียด การสูบบุหรี่ ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มาจากพฤติกรรมสุขภาพมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคนำไปสู่การเกิดโรคอื่นๆ อีกหลายๆโรค และนำไปสู่การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จึงจะสามารถป้องกันโรคได้ โดยในทุกๆ ปี ที่ผ่านทีมสุขภาพ พบว่าได้ลงพื้นที่เพื่อทำการตรวจคัดกรองโรคในชุมชน และพบว่า มีผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีมากกว่าร้อยละ 70 ซึ่งในกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวพบว่า มีพฤติกรรมเสี่ยงหลายอย่าง เช่น ไม่ออกกำลังกาย กินคาร์โบไฮเดรตและไขมันเยอะเกิน สูบบุหรี่จัด ภาวะเครียด ส่วนปัจจัยด้านอื่นๆ ที่อาจมีความเกี่ยวเนื่องกันได้ ก็คือ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งพบว่าคนที่มีบิดา มารดา มีภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวาน ก็มัก จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะป่วยด้วยโรคเหล่านี้มากกว่าคนปกติทั่วไป อีกทั้ง ในกลุ่มประชากรทีมีภาวะเสี่ยงสูง กลุ่มแฝง ถ้าไม่ได้รับการดูแล/รักษาอย่างต่อเนื่อง หรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม อาจพัฒนาไปสู่การป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ได้ในอนาคต เนื่องจากคนที่มีภาวะความดันโลหิตสูง หรือเบาหวานระยะแรกๆ ส่วนใหญ่ มักไม่ค่อยรู้ตัว ดังนั้นโอกาสจะเกิดโรคแทรกซ้อนก็มีมากตามไปด้วย โดยทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อหัวใจ ไต ตา และสมอง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ดังนั้นจึงเปรียบภาวะความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ว่าเป็น “ภัยเงียบ” หรือ “ฆาตกรเงียบ” นั่นเอง ตำบลบานามีประชากรทั้งหมด 21,934 คน ผู้สูงอายุ 2,619 คน เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 30 สาเหตุเกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม และความขาดความตระหนักในการตรวจสุขภาพ รับประทานยาไม่สม่ำเสมอและไม่พบแพทย์ตามนัด ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบานา ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการคัดกรอง NCD เชิงรุกเพื่อสุขภาพที่ดีของชาวบานา” ขึ้น เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงสูง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถดูแลสุขภาพตนเอง เลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ส่วนในรายที่สงสัยป่วยใหม่ได้รับการส่งต่อ เพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่องและช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังเชิงรุก และได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น
- ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา
- ให้ความรู้และคำแนะนำการดูแลสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรังรายบุคคล
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 1
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 2
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 3
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4
- ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 5
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 6
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 7
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 8
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 9
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 10
- คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 11
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 330 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคความดัน เบาหวานและได้รับการส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 11 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
2. ให้ความรู้และคำแนะนำการดูแลสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรังรายบุคคล |
||
วันที่ 11 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
330 | 0 |
3. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 17 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
4. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 18 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
5. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 21 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
6. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 21 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
7. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 5 |
||
วันที่ 22 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
8. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 6 |
||
วันที่ 23 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
9. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 7 |
||
วันที่ 24 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
10. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 8 |
||
วันที่ 25 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
11. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 9 |
||
วันที่ 28 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
12. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 10 |
||
วันที่ 29 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
13. คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 11 |
||
วันที่ 30 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ได้รับความรู้และคำแนะนำสุขภาพรายบุคคล |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังเชิงรุก และได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้นและได้รับใบส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่องสำหรับกลุ่มเสีียง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 330 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 330 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังเชิงรุก และได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น (2) ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา (3) ให้ความรู้และคำแนะนำการดูแลสุขภาพห่างไกลโรคเรื้อรังรายบุคคล (4) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 1 (5) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 2 (6) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 3 (7) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 4 (8) ส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษา (9) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 5 (10) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 6 (11) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 7 (12) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 8 (13) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 9 (14) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 10 (15) คัดกรองโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 11
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสถานีรักสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะรอสดี เงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......