กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กตำบลดอน เก่ง ดี มีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอะหลัน มะมิง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กตำบลดอน เก่ง ดี มีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L8419-01-01 เลขที่ข้อตกลง 03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กตำบลดอน เก่ง ดี มีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กตำบลดอน เก่ง ดี มีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กตำบลดอน เก่ง ดี มีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L8419-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านสาธารณสุขโดยกำหนดยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศไว้4 ด้าน หนึ่งในสี่ด้านนั้นคือ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ (Prevention Promotion& Protection Excellence) โดยมีแผนงานที่สำคัญ คือ แผนงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย เด็กกลุ่มอายุ 0-5 ปี หมายถึง เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ซึ่งเป็นช่วงอายุสำคัญที่สุดของมนุษย์ เพราะเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเร็วมาก สภาพปัญหา : จากผลการสำรวจสุขภาพเด็กปฐมวัย 0-5ปี ของตำบลดอน ในปี 2565-2567 พบว่าเด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 88.17 ,73.65 และ 62.50 ตามลำดับ (เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ85)และจากรายงานระบบคลังข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ (HDC) ในกลุ่มสตรีและเด็ก ตำบลดอน พบว่า ปี 2565-2567 ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 89.94 ,75.45 และ63.95 (เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ90) เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 24.34 ,23.81 และ 16.36 (เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 20) เด็ก0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้น ร้อยละ 91.89 ,90 และ100 เด็ก0-5 ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 63.77 ,67.40 และ54.43และ(เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 66) ความเร่งด่วน / ผลที่คาดหวัง : จากผลการดำเนินงานดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงการดำเนินงานด้านสุขภาพปฐมวัย ในตำบลดอน ที่ผ่านมา เช่น การใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เป็นเครื่องมือในการคัดกรองพัฒนาการเด็ก การเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก ร่วมกับการพัฒนาแกนนำ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมืออย่างต่อเนื่องทำให้สามารถค้นหาเด็กที่มีปัญหาโภชนาการ และพัฒนาการได้มากยิ่งขึ้น และเมื่อเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการโดยพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก อสม. และครูผู้ดูแลเด็กอย่างต่อเนื่อง ภายใน 30วัน พบว่าเด็กมีพัฒนาการสมวัยมากขึ้นแต่อย่างไรก็ตามยังมีเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ไม่ได้รับการดูแล เฝ้าระวัง กระตุ้น และส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการตามช่วงวัยอย่างเพียงพอและเหมาะสมทั้งจากครอบครัว ชุมชน รวมถึงหน่วยบริการที่ดูแลเด็กกลุ่มนี้ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนระดับอนุบาล เป็นต้น ดังนั้น เพื่อการแก้ปัญหาเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า และภาวะโภชนาการในพื้นที่ตำบลดอน โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชนที่เห็นความสำคัญและร่วมกันป้องกัน แก้ไข โดยอาศัยภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ให้เกิดความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก ให้เหมาะสมตามช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านพัฒนาการ และโภชนาการ ให้สามารถเฝ้าระวัง กระตุ้น ส่งเสริม แก้ไขปัญหา และบอกต่อกับผู้อื่นต่อไปได้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กตำบลดอน เก่ง ดีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างเสริมความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก โดยการให้คำแนะนำ คำปรึกษา ให้ความรู้และสาธิต ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ พัฒนาการ และสติปัญญาในเด็ก 0-5 ปี
  2. 2. เพื่อให้บริการเฝ้าระวัง ประเมิน คัดกรอง การเยี่ยมบ้าน และการเข้าถึงชุดสิทธิประโยชน์ ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ และพัฒนาการ ในเด็ก 0-5 ปี
  3. 3. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ หรือพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการ และสะท้อนคืนกลับข้อมูลสภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ได้แก่ ข้อมูลด้าน โภชนาการ พัฒนาการ ฟัน ภาวะซีด วัคซีน และพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กอายุ 0-5 ปี ให้แก่ทีมแกนนำและชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ไตรมาสละ 1 ครั
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องพัฒนาการโดยใช้โปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการและสร้างวินัยเชิงบวกโดยครอบครัวมีส่วนร่วม (Triple P) ในสถานที่ที่เหมาะสมตามบริบทชุมชน จำนวน 30 คน (ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก/ครูศพด./แกนนำ จำนวน 30 คน)
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับตรวจสุขภาพเด็ก (ไม้วัดตัวแบบยืน/นอน)
  4. กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี ในศพด. และชุมชน (เด็ก 40 คน ,แกนนำ 10 คน จำนวน 50 คน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 214
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. พ่อแม่ ผู้ปกครอง และเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อสร้างความรอบรู้ ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับบริการ เฝ้าระวัง ประเมิน คัดกรอง และส่งต่อ เพื่อการดูแลอย่างเหมาะสม หากเกิดความเสี่ยงด้านสุขภาพ และได้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์อย่างครอบคลุมต่อเนื่อง
  3. เกิดนวตกรรมเชิงกระบวนการในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างเสริมความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก โดยการให้คำแนะนำ คำปรึกษา ให้ความรู้และสาธิต ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ พัฒนาการ และสติปัญญาในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรอบรู้ด้านสุขภาพก่อน-หลัง ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้บริการเฝ้าระวัง ประเมิน คัดกรอง การเยี่ยมบ้าน และการเข้าถึงชุดสิทธิประโยชน์ ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ และพัฒนาการ ในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความพึงพอใจ ร้อยละ 90
0.00

 

3 3. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ หรือพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 3. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการติดตาม ดูแล และส่งต่อ ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ และพัฒนาการ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 294
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 214
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างเสริมความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก โดยการให้คำแนะนำ คำปรึกษา ให้ความรู้และสาธิต ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ พัฒนาการ และสติปัญญาในเด็ก 0-5 ปี (2) 2. เพื่อให้บริการเฝ้าระวัง ประเมิน คัดกรอง การเยี่ยมบ้าน และการเข้าถึงชุดสิทธิประโยชน์ ด้านภาวะสุขภาพ โภชนาการ วัคซีน ภาวะซีด ทันตสุขภาพ และพัฒนาการ ในเด็ก 0-5 ปี (3) 3. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ หรือพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการ และสะท้อนคืนกลับข้อมูลสภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ได้แก่ ข้อมูลด้าน โภชนาการ พัฒนาการ ฟัน ภาวะซีด วัคซีน และพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กอายุ 0-5 ปี ให้แก่ทีมแกนนำและชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ไตรมาสละ 1 ครั (2) กิจกรรมที่  2 อบรมเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องพัฒนาการโดยใช้โปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการและสร้างวินัยเชิงบวกโดยครอบครัวมีส่วนร่วม (Triple P) ในสถานที่ที่เหมาะสมตามบริบทชุมชน จำนวน 30 คน  (ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก/ครูศพด./แกนนำ จำนวน  30 คน) (3) กิจกรรมที่ 3 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับตรวจสุขภาพเด็ก (ไม้วัดตัวแบบยืน/นอน) (4) กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี ในศพด. และชุมชน (เด็ก 40 คน ,แกนนำ 10 คน จำนวน 50 คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กตำบลดอน เก่ง ดี มีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L8419-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอะหลัน มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด