กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความใส่ใจของชุมชนตำบลโคกม่วงประจำปี 2561 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจามรี ไตรจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความใส่ใจของชุมชนตำบลโคกม่วงประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 17 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความใส่ใจของชุมชนตำบลโคกม่วงประจำปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความใส่ใจของชุมชนตำบลโคกม่วงประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความใส่ใจของชุมชนตำบลโคกม่วงประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 17 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลการดำเนินงานของโครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความลใส่ใจของเทสบาลตำบลโคกม่วงมีผลลัพธ์ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เท่ากับร้อยละ 83. 23 (เป้่าหมายโครงการมากกว่าร้อยละ 80 ) และเป็นปัญหาการใช้ยา ในรูปแบบการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องทั้งในการกยุดยาาเองทั้งในส่วนที่กลัวยามีผลทำให้เกิดโรคไตความเข้าใจที่มีอาการแพ้ยาแล้วหยุดยา ไมาทราบวิธีการแก้ปัญหาเมื่อลืมกินยา การใช้ยาในผู้ปาวยที่ขาดผู้ดูแลหรือใช้ยาไม่ถุกต้องเมื่อผู้ดูแลไม่อยู่ ผู้ป่วยที่ตาบอด ปัญหาที่เก็บยาไม่ถูกต้อง ที่ส่งผลให้ยาเสื่อมสภาพ หมดอายุ และหากมีการใช้จะส่งผลเสียให้เกิดกับผู้ใช้ ผลการถอดบทเรียนของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวาข้องในโครงการอยากให้มีการดำเนินการดังนี้ในแต่ละกลุ่ม คือ กลุ่มเด็กนักเรียนเพิ่มการขยายองค์ความรู้ในโรงเรียนโดยการใช้เสียงตามสาย การตรวจสอบความปลอดภัยในอาหารโรงเรียนโดยผ่าน อย.น้อยในโรงเรียน การตรวจสารปนเปื้อนต่างๆในชุมชนในรูปแบบการสาธิต และเป็นแกนนำในการตรวจสอบความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ในชุมชน การให้ความรู้ผ่านเสียงตามสายในชุมชน กลุ่มอสม. การขยายองค์ความรู้ คือการนำความรู้ที่ได้มาถ่ายถอดและปฏิบัติแก่ครัวเรือนในชุมชน/โรงเรียน อสม. เป็นบุคคลต้นแบบในครัวเรือนและชุมชน เชื่อมโยงการดำเนินงานของเด็กนักเรียนเป็นแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน อยากให้มีโครงการปิ่นโตสุขภาพในวัด การรณรงค์ลดหวาน มัน เค็ม ในงานเลี้ยงต่างๆ กลุ่มผุ้ป่วยที่สามารถเดินเองได้สะดวกไปมา เยี่ยมด้วยกันและไปเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง เพื่อดแนะนำการใช้ยา การกินยาหารที่ถูกต้อง โดยสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลตำบลโคกม่วง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องปรับปรุงอาหาร) ในชุมชนมีความปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน เพื่อดำเนินกิจกรรม ต่างๆๆ ดังนี้
  2. 2. อบรมเชิงปฏิบัติการนักเรียนและครู จำนวน 80 คน โดยทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน รวม 100 คน
  3. 3. อบรม อสม. ตัวแทน อสม.จำนวน 80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน
  4. 4.การประกวดผลงานและการนำเสนอผลการดำเนินงาน ของโครงการ เด็กนักเรียน ครู พี่เลี้ยง 120 คน
  5. 5. สรุปบทเรียนและผลการดำเนินงานของ อสม.80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดกระบวนการ การคุ้มครองผู้บริโรคในชุมชน ที่มีความรู้และเฝ้าระวัง ตรวจสอบความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สสุขภาพ ในพื้นที่ ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น
  2. คัวเรือนมีความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น
  3. เป็นแบบอย่างในการดำเนินการแก้ปัญหาด้านสุขภาพโดยชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ประชุมทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน เพื่อดำเนินกิจกรรม ต่างๆๆ ดังนี้

วันที่ 12 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพี่เลี้ยงและค่าอาหารกลาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

20 0

2. 2. อบรมเชิงปฏิบัติการนักเรียนและครู จำนวน 80 คน โดยทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน รวม 100 คน

วันที่ 12 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

100 0

3. 3. อบรม อสม. ตัวแทน อสม.จำนวน 80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน

วันที่ 12 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและค่าตอบแทนวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

100 0

4. 5. สรุปบทเรียนและผลการดำเนินงานของ อสม.80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน

วันที่ 12 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

สรุปกิกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

100 0

5. 4.การประกวดผลงานและการนำเสนอผลการดำเนินงาน ของโครงการ เด็กนักเรียน ครู พี่เลี้ยง 120 คน

วันที่ 13 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่ากิจกรรมการประกวด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตพื้นที่ มีการอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ไขปัญหาการใช้ยาของผุ้ป่วยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอผลการดำเนินงานแก่แกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม.จำนวน 75 คน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือนดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 ครัวเรือน และสรุปผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการถอดบทเรียน ในกลุถ่มแกนนำ อสม. ในแต่ละ รพสต. ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยร้อยละ 89.1

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องปรับปรุงอาหาร) ในชุมชนมีความปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1. ผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องปรุงอาหาร ในชุมชนมีความปลอดภัย ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
1.00 89.10

กิจกรรมในกลุ่มเด็ก จำนวน 75 คน เป็นเด็กประถมในโรงเรียนในเขตในพื้นที่ มรการอบรมเชิงปฏิบัติการในการตรวจสอบปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพและการดำเนินการเผยแพร่และดำเนินการตรวจสอบเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑืในโงเรียน ในครัวเรือนของตนเอง ติดตามและแก้ปัญหาการใช้ยาของผู้ปาวยเรื้อรังในครัวเรือนและบ้านใกล้เคียง สรุถปผลการดำเนินงานโดยการนำเสนอ ผลการดำเนินงานของแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน และเผยแพร่ผลการดำเนินด้านความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในรูปแบบ การประกวด เรียงความ ภาพวาด กิจกรรมในกลุ่ม อสม. จำนวน 75 คนมีการอบรมเชิงปฏิบัติการในกาตรวจสอบความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในครัวเรือนที่รับผิดชอบ จำนวน 453 ครัวเรือน ดำเนินการเฝ้าระวัง และแก้ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหา ไม่สามารถใช้ยาได้อย่างถููกต้อง ไม่มีผู้ดูแล จำนวน 24 อสม. ในแต่ละ รพ.สต.

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องปรับปรุงอาหาร) ในชุมชนมีความปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน เพื่อดำเนินกิจกรรม ต่างๆๆ ดังนี้ (2) 2. อบรมเชิงปฏิบัติการนักเรียนและครู จำนวน 80 คน โดยทีมพี่เลี้ยง จำนวน 20 คน รวม 100 คน (3) 3. อบรม อสม. ตัวแทน อสม.จำนวน 80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน (4) 4.การประกวดผลงานและการนำเสนอผลการดำเนินงาน ของโครงการ เด็กนักเรียน ครู พี่เลี้ยง 120 คน (5) 5. สรุปบทเรียนและผลการดำเนินงานของ อสม.80 คน ทีมพี่เลี้ยง 20 คน รวม 100 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัยด้วยความใส่ใจของชุมชนตำบลโคกม่วงประจำปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจามรี ไตรจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด