โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 ”
โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางปฐมาพร พิทักษ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง L5220-05-68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมคืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพีขอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเกษตรกร
ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯที่ไม่ถูกต้องปลอดภัยทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรือรังอาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ
ส่วนอาการเรือรังสารเคมีกำจัดศัตรพืชจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กัสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้ขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมาเช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนาปลูกพืชผักผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตศัตศัตรพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่า เกษตรกร ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับกับด้านสุขภาพโดยตรง และจากการายงามอัตราป่วยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ของอำเภอระโนด ปี 2567 พบว่า อัตราป่วยตำบลตะเครียะ เท่ากับ 312.50ต่อแสนประชากร สูงเป็นอันดับ 2 ของอำเภอระโนดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรและผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดดภัยขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภค ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือด เพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
- เพื่อให้ประชากลุ่มเสี่ยงที่มีผลเลือดระดับมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย ได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค 2. ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 คน 3. เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกษตรมีพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
- ชุมชนมีการลดใช้สารเคมีในการเพาะปลูก
- เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภค ได้รับการตจรวจสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมี ตกค้างในเลือดร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรุ้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ร้อยะล 80
0.00
3
เพื่อให้ประชากลุ่มเสี่ยงที่มีผลเลือดระดับมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย ได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเลือด ระดับมีความเสี่ยงรือไม่ปลอดภัย ได้รับการการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด ร้อยละ 100
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย (3) เพื่อให้ประชากลุ่มเสี่ยงที่มีผลเลือดระดับมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย ได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค 2. ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 คน 3. เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปฐมาพร พิทักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 ”
โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางปฐมาพร พิทักษ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง L5220-05-68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมคืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพีขอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเกษตรกร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯที่ไม่ถูกต้องปลอดภัยทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรือรังอาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรือรังสารเคมีกำจัดศัตรพืชจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กัสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้ขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมาเช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนาปลูกพืชผักผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตศัตศัตรพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่า เกษตรกร ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับกับด้านสุขภาพโดยตรง และจากการายงามอัตราป่วยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ของอำเภอระโนด ปี 2567 พบว่า อัตราป่วยตำบลตะเครียะ เท่ากับ 312.50ต่อแสนประชากร สูงเป็นอันดับ 2 ของอำเภอระโนดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรและผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดดภัยขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภค ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือด เพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
- เพื่อให้ประชากลุ่มเสี่ยงที่มีผลเลือดระดับมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย ได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค 2. ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 คน 3. เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกษตรมีพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
- ชุมชนมีการลดใช้สารเคมีในการเพาะปลูก
- เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภค ได้รับการตจรวจสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมี ตกค้างในเลือดร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรุ้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ร้อยะล 80 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชากลุ่มเสี่ยงที่มีผลเลือดระดับมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย ได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเลือด ระดับมีความเสี่ยงรือไม่ปลอดภัย ได้รับการการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย (3) เพื่อให้ประชากลุ่มเสี่ยงที่มีผลเลือดระดับมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย ได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค 2. ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 คน 3. เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปฐมาพร พิทักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......