โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวธนา ฟุ้งเฟื่อง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-2-03 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2491-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียน บ้านค่าย ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันที่นักเรียนต้องเผชิญกับความท้าทายและภัยคุกคามที่หลากหลาย ทั้งจากภายในและภายนอกสถานศึกษา การสร้าง "ภูมิคุ้มกันทางใจ" (Resilience Quotient: RQ) จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ภูมิคุ้มกันทางใจนี้จะช่วยให้นักเรียนสามารถรับมือกับปัญหา ความเครียด และสถานการณ์ที่ยากลำบากได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวและฟื้นตัวจากอุปสรรคต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
จากสถานการณ์ปัจจุบัน พบว่านักเรียนในโรงเรียนบ้านค่าย ยังขาดทักษะและความรู้ในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามต่าง ๆ ปัญหาการกลั่นแกล้ง รังแก ข่มขู่ การล่อลวงออนไลน์ และความเครียดจากความกดดันทางการเรียน เป็นต้น ล้วนส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของนักเรียน ทำให้เกิดความวิตกกังวล ซึมเศร้า และขาดความเชื่อมั่นในตนเอง นอกจากนี้ นักเรียนกลุ่มเสี่ยง เช่น นักเรียนที่มาจากครอบครัวยากจน ผู้ปกครองทำงานไกลบ้าน ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว นักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางเรียนรู้ อาจเผชิญกับความท้าทายที่ซับซ้อนกว่านักเรียนทั่วไป ทำให้ต้องการการดูแลและสนับสนุนเป็นพิเศษ
จากเหตุผลดังกล่าว โรงเรียนบ้านค่าย จึงได้จัดทำโครงการ "ฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย" ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และมีภูมิคุ้มกันทางใจให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โครงการนี้จะเน้นการให้ความรู้ การฝึกทักษะ และการสร้างสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ทั้งนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน
โครงการนี้สอดคล้องกับเป้าหมายของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน การดำเนินโครงการนี้จะช่วยลดพฤติกรรมเสี่ยง เสริมสร้างสุขภาพกายและจิตที่ดี และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ในนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย
- 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย
- 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อนักเรียนโรงเรียนบ้านค่ายที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิต ให้ได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนจะได้รับความรู้และพัฒนาทักษะด้านความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ที่ดีขึ้น สามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม มีทักษะในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
2.สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการพัฒนาสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน สภาพแวดล้อมที่ดีจะช่วยลดความเครียดและความวิตกกังวลของนักเรียน และส่งเสริมความรู้สึกปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี
3.โรงเรียนสามารถส่งต่อนักเรียนไปยังผู้เชี่ยวชาญได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงทีเมื่อนักเรียนต้องการความช่วยเหลือด้านสุขภาพกายและจิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ในนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนบ้านค่ายได้รับการเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ร้อยละ 80
0.00
2
2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย
ตัวชี้วัด : 2.โรงเรียนบ้านค่ายมีสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีอยู่ในระดีดีขึ้นไป ร้อยละ 80
0.00
3
3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อนักเรียนโรงเรียนบ้านค่ายที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิต ให้ได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 3.เครือข่ายโรงเรียนบ้านค่ายให้ความร่วมมือ สนับสนุนนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิตอย่างเหมาะสมระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ในนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย (2) 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย (3) 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อนักเรียนโรงเรียนบ้านค่ายที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิต ให้ได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวธนา ฟุ้งเฟื่อง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวธนา ฟุ้งเฟื่อง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-2-03 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2491-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียน บ้านค่าย ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันที่นักเรียนต้องเผชิญกับความท้าทายและภัยคุกคามที่หลากหลาย ทั้งจากภายในและภายนอกสถานศึกษา การสร้าง "ภูมิคุ้มกันทางใจ" (Resilience Quotient: RQ) จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ภูมิคุ้มกันทางใจนี้จะช่วยให้นักเรียนสามารถรับมือกับปัญหา ความเครียด และสถานการณ์ที่ยากลำบากได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวและฟื้นตัวจากอุปสรรคต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว จากสถานการณ์ปัจจุบัน พบว่านักเรียนในโรงเรียนบ้านค่าย ยังขาดทักษะและความรู้ในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามต่าง ๆ ปัญหาการกลั่นแกล้ง รังแก ข่มขู่ การล่อลวงออนไลน์ และความเครียดจากความกดดันทางการเรียน เป็นต้น ล้วนส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของนักเรียน ทำให้เกิดความวิตกกังวล ซึมเศร้า และขาดความเชื่อมั่นในตนเอง นอกจากนี้ นักเรียนกลุ่มเสี่ยง เช่น นักเรียนที่มาจากครอบครัวยากจน ผู้ปกครองทำงานไกลบ้าน ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว นักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางเรียนรู้ อาจเผชิญกับความท้าทายที่ซับซ้อนกว่านักเรียนทั่วไป ทำให้ต้องการการดูแลและสนับสนุนเป็นพิเศษ
จากเหตุผลดังกล่าว โรงเรียนบ้านค่าย จึงได้จัดทำโครงการ "ฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย" ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และมีภูมิคุ้มกันทางใจให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โครงการนี้จะเน้นการให้ความรู้ การฝึกทักษะ และการสร้างสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ทั้งนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน โครงการนี้สอดคล้องกับเป้าหมายของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน การดำเนินโครงการนี้จะช่วยลดพฤติกรรมเสี่ยง เสริมสร้างสุขภาพกายและจิตที่ดี และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ในนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย
- 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย
- 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อนักเรียนโรงเรียนบ้านค่ายที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิต ให้ได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนจะได้รับความรู้และพัฒนาทักษะด้านความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ที่ดีขึ้น สามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม มีทักษะในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
2.สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการพัฒนาสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน สภาพแวดล้อมที่ดีจะช่วยลดความเครียดและความวิตกกังวลของนักเรียน และส่งเสริมความรู้สึกปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดี
3.โรงเรียนสามารถส่งต่อนักเรียนไปยังผู้เชี่ยวชาญได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงทีเมื่อนักเรียนต้องการความช่วยเหลือด้านสุขภาพกายและจิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ในนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนบ้านค่ายได้รับการเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย ตัวชี้วัด : 2.โรงเรียนบ้านค่ายมีสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีอยู่ในระดีดีขึ้นไป ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อนักเรียนโรงเรียนบ้านค่ายที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิต ให้ได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : 3.เครือข่ายโรงเรียนบ้านค่ายให้ความร่วมมือ สนับสนุนนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิตอย่างเหมาะสมระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ มีทักษะการป้องกันตนเอง และภูมิคุ้มกันทางใจ (RQ) ในนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย (2) 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและจิตที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านค่าย (3) 3.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อนักเรียนโรงเรียนบ้านค่ายที่มีปัญหาสุขภาพกายและจิต ให้ได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฉลาดคิด ป้องกันภัย สร้างภูมิคุ้มกันใจนักเรียนบ้านค่าย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวธนา ฟุ้งเฟื่อง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......