กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1523-1-02 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,238.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 15-24ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยรุ่นและ      การเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน ซึ่งประเทศไทย ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่        1 มกราคม – 4 กันยายน 2567 พบผู้ป่วยสะสม จำนวน 72,157 ราย (รายงานเพิ่มขึ้น 3,828 ราย) อัตราป่วย 109.11 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2567 มีจำนวนผู้ป่วยน้อยกว่า ปี พ.ศ. 2566 จำนวน 2.1 เท่า และมากกว่า ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี พ.ศ. 2562–2566) 1.08 เท่า จังหวัดที่มีอัตราป่วยสะสม 5 อันดับแรก คือ จังหวัดเชียงราย, จังหวัดแม่ฮ่องสอน, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดน่าน และจังหวัดลำพูน ตามลำดับ อัตราป่วยสูงสุดอยู่ในกลุ่มอายุ 5 -14 ปีอายุ 15 -24 ปี และอายุ 0 - 4 ปี ตามลำดับ ผู้ป่วยเสียชีวิตยืนยัน จำนวน 52ราย อัตราป่วยตายร้อยละ0.07 ส่วนใหญ่ผู้เสียชีวิตอายุอยู่ระหว่าง5 –14 ปี ปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ไปรักษาช้า มีภาวะอ้วน มีโรคประจำตัว ตามลำดับ (กรมควบคุมโรค กระทรวงสารณสุข สัปดาห์ที่ 34 ระหว่างวันที่ 1-17 กันยายน 2567) จากข้อมูลการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2565 - 2567) ที่ผ่านมาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีผู้ป่วยเป็นไข้เลือด ในปี พ.ศ.2565 จำนวน 2 ราย อัตราป่วย คิดเป็น 106.33 ต่อแสนประชากร พบในพื้นที่ ม.2 และ ม.7 ปี พ.ศ.2566 จำนวน 9 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 484.39  ต่อแสนประชากร พบในพื้นที่ ม.1 จำนวน 2 ราย ม.2 จำนวน 4 ราย และ ม.7 จำนวน 3 ราย และ ปี พ.ศ. 2567 พบผู้ป่วยจำนวน 5 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 267.38 ต่อแสนประชากร พบในพื้นที่ ม.2 จำนวน 3 ราย และ ม.7 จำนวน 2 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต โดยกลุ่มอายุที่พบ คือ อายุ 7- 15 ปี และ อายุ 30 – 60 ปี (ที่มา : รายงาน 506 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสิเกา ณ ปี พ.ศ 2565 - 2567) ซึ่งพบว่าอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ดังนั้นเพื่อไม่ให้มีการระบาดของไข้เลือดออก จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญจึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้ในพื้นที่การที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก รวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายรวมถึงการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน โรงเรียน อย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำ โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 ขึ้นเพื่อลดการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขอนามัย ในครัวเรือนที่ถูกต้องห่างไกลจากโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างทีมเฝ้าระวังมีความพร้อมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชุน 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ และ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังและเตรียมความพร้อมของชุมชนในการควบคุมโรคไข้เลือดออก ให้แก่ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคในชุมชน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่ลำคัญ แจกแผ่นพับให้ความรู้ ในชุมชน โรงเรียน โดยทีมเฝ้าระวังควบคุมโรค ทั้ง 3 หมู่บ้าน (ม.1 ม.2 และ ม.7)
  3. กิจกรรมที่ 3 วัสดุการควบคุมและป้องกันโรค ได้แก่ สเปรย์กำจัดยุง/โลชั่นทากันยุง (สนันสนุนเฉพาะในกรณีครัวเรือนเกิดการระบาดโรคไข้เลือดออก) บ้านผู้ป่วยและบ้านที่อยู่ในรัศมี 100 เมตร
  4. กิจกรรมที่ 4 อสม ติดตามและประเมินผลความชุกของลูกน้ำ เพื่อประเมินการมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน โดยสรุปจากการรายงานลูกน้ำยุงลายผ่าน สมาร์ท อสม.เพื่อนำมาวิเคราะห์ในแต่ละหลังคาเรือน ในแต่ละสัปดาห์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนลดลงอันส่งผลให้ไม่มีผู้ป่วยหรือผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก และผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์การประเมินระดับดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างทีมเฝ้าระวังมีความพร้อมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชุน 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ และ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านมีทีมเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2.ร้อยละ 80 ของประชาชนในครัวเรือนมีความรู้และส่วนร่วมในควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.ร้อยละอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร และ หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบหมู่ที่ 1,2,และหมู่ที่ 7 มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน (HI) ไม่เกิน 10 และ CI = 0
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างทีมเฝ้าระวังมีความพร้อมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชุน 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน  3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ และ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังและเตรียมความพร้อมของชุมชนในการควบคุมโรคไข้เลือดออก  ให้แก่ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่ลำคัญ แจกแผ่นพับให้ความรู้ ในชุมชน โรงเรียน โดยทีมเฝ้าระวังควบคุมโรค ทั้ง 3 หมู่บ้าน (ม.1 ม.2 และ ม.7) (3) กิจกรรมที่ 3 วัสดุการควบคุมและป้องกันโรค ได้แก่ สเปรย์กำจัดยุง/โลชั่นทากันยุง (สนันสนุนเฉพาะในกรณีครัวเรือนเกิดการระบาดโรคไข้เลือดออก) บ้านผู้ป่วยและบ้านที่อยู่ในรัศมี 100 เมตร (4) กิจกรรมที่ 4  อสม ติดตามและประเมินผลความชุกของลูกน้ำ เพื่อประเมินการมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน โดยสรุปจากการรายงานลูกน้ำยุงลายผ่าน สมาร์ท อสม.เพื่อนำมาวิเคราะห์ในแต่ละหลังคาเรือน ในแต่ละสัปดาห์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1523-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด