โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-04 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข และสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลได้ตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนและระดมพลังทั้งสังคมเพื่อแก้ไขและขจัดปัญหาดังกล่าวผ่านกระบวนการทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยพ.ศ2554-2563 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคล ครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จากข้อมูลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมาพบว่า โรคความดันโลหิตสูง และโรคโรคเบาหวานทั้งหมด ซึ่งในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดานก็เพิ่มจำนวนมากขึ้นทุกปี และเกิดโรคแทรกซ้อนร้ายแรงเพิ่มขึ้นเช่นกัน เช่น โรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด 420 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 192 คน มีภาวะแทรกซ้อนทางตาร้อยละ 3.1 ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าร้อยละ 2.55 และแทรกซ้อนทางไตร้อยละ 2.55 ปัญหาดังกล่าวถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้มีภาวะสุขภาพดีขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลบ้านเขาเพดาน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจดูแลตนเองได้ดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3 . เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาและเท้าโดยเจ้าหน้าที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และมีการติดตามเยี่ยมบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแล มีความรู้ในการดูแลสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง และบุคคลในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง
2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยเบาหวาน มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในควบคุมภาวะแทรกซ้อนของโรคโดยมีค่าผลเลือดหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที eGFR › 45 และค่าน้ำตาลสะสมในเลือดได้ดี โดยมีค่า HbA1c ‹ 7 เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและโรคเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3 . เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาและเท้าโดยเจ้าหน้าที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และมีการติดตามเยี่ยมบ้าน
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)
3. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานเข้ารับการตรวจตาและเท้า
4. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2
5. ร้อยละ 100 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และได้รับการเยี่ยมบ้าน
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3 . เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาและเท้าโดยเจ้าหน้าที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และมีการติดตามเยี่ยมบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-04 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข และสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลได้ตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนและระดมพลังทั้งสังคมเพื่อแก้ไขและขจัดปัญหาดังกล่าวผ่านกระบวนการทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยพ.ศ2554-2563 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคล ครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากข้อมูลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมาพบว่า โรคความดันโลหิตสูง และโรคโรคเบาหวานทั้งหมด ซึ่งในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดานก็เพิ่มจำนวนมากขึ้นทุกปี และเกิดโรคแทรกซ้อนร้ายแรงเพิ่มขึ้นเช่นกัน เช่น โรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด 420 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 192 คน มีภาวะแทรกซ้อนทางตาร้อยละ 3.1 ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าร้อยละ 2.55 และแทรกซ้อนทางไตร้อยละ 2.55 ปัญหาดังกล่าวถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้มีภาวะสุขภาพดีขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลบ้านเขาเพดาน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจดูแลตนเองได้ดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3 . เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาและเท้าโดยเจ้าหน้าที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และมีการติดตามเยี่ยมบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแล มีความรู้ในการดูแลสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง และบุคคลในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง 2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยเบาหวาน มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในควบคุมภาวะแทรกซ้อนของโรคโดยมีค่าผลเลือดหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที eGFR › 45 และค่าน้ำตาลสะสมในเลือดได้ดี โดยมีค่า HbA1c ‹ 7 เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและโรคเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3 . เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาและเท้าโดยเจ้าหน้าที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และมีการติดตามเยี่ยมบ้าน ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) 3. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานเข้ารับการตรวจตาและเท้า 4. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5. ร้อยละ 100 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และได้รับการเยี่ยมบ้าน |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจหาปริมาณเลือดที่ไหลผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที (eGFR) และผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3 . เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาและเท้าโดยเจ้าหน้าที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ได้รับการติดตามค่า eGFR และผู้ป่วยเบาหวานมีค่าน้ำตาลสะสมในเลือด › 7 ได้มีการติดตามผลเลือดครั้งที่ 2 5.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าผลเลือด eGFR ≤ 45 ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่าผลเลือด HbA1C ≥ 10 ผลตรวจตาและเท้าผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ และมีการติดตามเยี่ยมบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ รู้ทันป้องกันภัย ใส่ใจภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......