กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางวิไลลักษณ์ ทองช่วย




ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม

ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L8008-02-30 เลขที่ข้อตกลง 30/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-02-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการ "เปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม" ของวัดชนาธิปเฉลิม พระอารามหลวง เกิดขึ้นจากความตระหนักถึงปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และความสำคัญของการรักษาความสะอาดภายในวัด ซึ่งเป็นสถานที่ที่ผู้คนมักมาเยี่ยมเยียนเพื่อปฏิบัติธรรมและทำบุญ รวมถึงการที่วัดมีบทบาทในการส่งเสริมจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนทั้งในด้านการจัดการขยะ การลดการใช้พลาสติก การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และการอนุรักษ์ธรรมชาติ ในปัจจุบัน วัดชนาธิปเฉลิม พระอารามหลวงได้กลายเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน ซึ่งมีกิจกรรมต่าง ๆ มากมายที่เกิดขึ้นภายในวัด เช่น การทำบุญ การประกอบพิธีกรรม รวมถึงการรับประทานอาหารร่วมกัน ซึ่งสร้างปริมาณขยะมากมายในแต่ละวัน โดยเฉพาะขยะพลาสติกและวัสดุที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ ทำให้เกิดปัญหาการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม และส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของชุมชน จากปัญหาดังกล่าว วัดชนาธิปเฉลิม พระอารามหลวง ได้เคยริเริ่ม จัดโครงการลดขยะเปียกแปรรูปเป็นสวนผักปลอดสารพิษ เมื่อปี 2566 จนพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบด้านการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม แต่การจัดการขยะในประเภทอื่นๆยังคงเป็นปัญหาภายในวัด ทางกลุ่มวัดชนาธิปเฉลิม พระอารามหลวง จึงมีวัตถุประสงค์ในการลดปริมาณขยะต้นทางภายในวัดให้เหลือศูนย์ ส่งเสริมการคัดแยกขยะและการใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายที่จะลดการใช้พลาสติกและวัสดุที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ และสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับพระสงฆ์และญาติโยมเกี่ยวกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำ โครงการ "เปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม" นี้ขึ้น เพื่อสร้างความสุขและความปลอดภัยให้กับผู้คนที่มาเยี่ยมเยียนวัด ด้วยการสร้างบรรยากาศที่สะอาด ปลอดภัย ไร้มลพิษ ซึ่งจะช่วยให้ผู้คนสามารถปฏิบัติธรรมได้อย่างสงบสุข และกลับบ้านไปด้วยจิตใจที่สดใส พร้อมกับมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้และแนวปฏิบัติในการคัดแยกขยะ
  2. เพื่อนำขยะอินทรีย์ในวัดชนาธิปเฉลิมมาใช้ให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะในพื้นที่
  2. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะที่ถูกวิธีและโรคทางเดินอาหารที่แพร่เชื้อโดยแมลงวันและการผลิตปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลาย
  3. กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. ถอดบทเรียน/สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ไม่พบขยะภายในวัดและบริเวณรอบ ๆ วัด
  2. วัดและประชาชนในชุมชนมีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
  3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีพฤติกรรมสุขวิทยาที่ถูกต้อง
  4. เด็กนักเรียนและเยาวชนเกิดจิตสำนึก นิสัยรักสะอาดและปริมาณขยะในวัดและชุมชนลดลง
  5. ความสามัคคีในชุมชนเอื้อต่อการพัฒนาระบบสุขภาพด้านอื่นๆ
  6. ขยายผลการจัดการขยะอินทรีย์ลงพื้นที่ชุมชนชนาธิป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้และแนวปฏิบัติในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้หลังการอบรมผ่านที่กำหนด โดยแบบประเมินวัดความรู้ความเข้าใจ
0.00 30.00

 

2 เพื่อนำขยะอินทรีย์ในวัดชนาธิปเฉลิมมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : - เกิดผลผลิตจากขยะอินทรีย์อย่างน้อย 1 รายการ - สามารถใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ภายในวัดได้อย่างน้อย ร้อยละ 80 (มีการเก็บสถิติปริมาณขยะเปียกที่สามารถใช้ประโยชน์ได้) (เก็บสถิติผลผลิตที่ได้สร้างมูลค่าได้จำนวนเงินเท่าไรจากการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ภายในวัด)
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้และแนวปฏิบัติในการคัดแยกขยะ (2) เพื่อนำขยะอินทรีย์ในวัดชนาธิปเฉลิมมาใช้ให้เกิดประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะในพื้นที่ (2) อบรมให้ความรู้การจัดการขยะที่ถูกวิธีและโรคทางเดินอาหารที่แพร่เชื้อโดยแมลงวันและการผลิตปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลาย (3) กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน (4) ถอดบทเรียน/สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L8008-02-30

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิไลลักษณ์ ทองช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด