กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2568 ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวชัญญานุช พุ่มพวง




ชื่อโครงการ โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 112,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การบริหารส่วนตำบลละงูอำเภอละงู จังหวัดสตูล ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกในเขตอำเภอละงู และอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดสตูล อยู่ห่างจากตัวจังหวัดระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ 75.14 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 47,587.50 ไร่ ไม่รวมพื้นที่ทะเล แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 18 หมู่บ้าน ต่อมาได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย และมีผลบังคับใช้ เมื่อปี 2542 องค์การบริหารส่วนตำบลละงูมีจำนวนประชากร 19,374 คน แยกเป็นชาย 9,613 คน และหญิง 9,761 คน และมีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้นทั้งหมด 5,456 ครัวเรือน (ฐานข้อมูล TCNAP 12 พฤศจิกายน 2564) ปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าของสังคม ทำให้ผู้คนให้ความสำคัญกับรูปลักษณ์ภายนอก รสชาติและราคาของอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่คนคำนึงถึงว่าตนจะเลือกบริโภคอาหารนั้นๆหรือไม่ โดยไม่คำนึงถึงประโยชน์ต่อสุขภาพที่จะได้รับและในวิถีชีวิตที่เร่งรีบนี้ ทำให้คนไม่มีโอกาสที่จะเลือกบริโภคอาหารให้ได้ครบตามความต้องการของร่างกาย และยังพบอีกว่า ร้านอาหาร และแผงลอยฯ ยังมีสภาพที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ทั้งด้านสุขาภิบาล และสุขวิทยาส่วนบุคคล อีกทั้ง ยังมีโรคระบาดเกี่ยวกับอาหารและน้ำเป็นสื่อ เช่น อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ เป็นต้น ตำบลละงู มีแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 56 แผง และร้านอาหารจำนวน 25 ร้าน ซึ่งได้รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ยังมีแผงลอยที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 2.4 (ข้อมูลจากกลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลละงู) และจากสถานการณ์การป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารของประชาชนตำบลละงู ในปี พ.ศ. 2567 พบผู้ป่วยจำนวน 986 ราย (จากข้อมูลรายงาน 504 ของรพ.สต.ในเขตตำบลละงู) ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค ตลอดจนคุ้มครองสุขภาพของประชาชนให้ได้บริโภคอาหารจากร้านค้าและแผงลอยที่สะอาดปลอดภัย ติดป้ายแสดงราคา ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ช่วยลดปริมาณขยะ ด้วยเหตุนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลละงู จึงได้บูรณาการความร่วมมือกับผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย ส่วนราชการ ภาคเอกชน และชมรมต่างๆ ในพื้นที่ จัดทำโครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคล และอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำ ที่ไม่สะอาดปลอดภัย
  2. 2. เพื่อกำหนดกติการ่วมกันในการจำหน่ายอาหารสะอาด ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รับสมัครร้านค้าและแผงลอยเข้าร่วมโครงการ
  2. อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคลและอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำที่ไม่ปลอดภัย
  3. ออกร้านต้นแบบ อาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
  4. ติดตามและประเมินผล
  5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อถอดบทเรียนโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน ประเมินคุณค่าโครงการในระบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคลและอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำที่ไม่สะอาดปลอดภัย
  2. ประชาชนตำบลละงูมีความปลอดภัยในการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มจากร้านที่เข้าร่วมโครงการ และสามารถต่อยอดขยายผลไปยังร้านอื่นๆให้ทั่วถึงต่อไป 3.เกิดร้านค้าต้นแบบที่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและเป็นต้นแบบให้ร้านค้าอื่นๆต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคล และอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำ ที่ไม่สะอาดปลอดภัย
ตัวชี้วัด : (1) ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคล และอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำ ที่ไม่สะอาดปลอดภัย (2) ร้อยละ 90 ของประชาชนที่รับประทานอาหารจากร้านค้าและแผงลอยที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจ และปลอดภัยจากการรับประทาน โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ
0.00

 

2 2. เพื่อกำหนดกติการ่วมกันในการจำหน่ายอาหารสะอาด ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : 2. ได้ข้อกำหนด/กติการ่วมสำหรับร้านค้าและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่เข้าร่วมโครงการปฏิบัติร่วมกัน จำนวน 1 ฉบับ ที่มีความครอบคลุมทั้งด้านมาตรฐานอาหารสะอาด สุขวิทยาส่วนบุคคลของผู้จำหน่าย และการใส่ใจสิ่งแวดล้อม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคล และอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำ ที่ไม่สะอาดปลอดภัย (2) 2. เพื่อกำหนดกติการ่วมกันในการจำหน่ายอาหารสะอาด ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รับสมัครร้านค้าและแผงลอยเข้าร่วมโครงการ (2) อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคลและอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำที่ไม่ปลอดภัย (3) ออกร้านต้นแบบ อาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม (4) ติดตามและประเมินผล (5) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อถอดบทเรียนโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน ประเมินคุณค่าโครงการในระบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชัญญานุช พุ่มพวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด