กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 ”
รพ.สต.บ้านนาทอนและพื้นที่ ม.1 ม.2 ม.3 ม.6 และ ม.7 ต.นาทอน



หัวหน้าโครงการ
นางหทัยกาญจน์ สันมาหมีน, นางสาวสุมาลิน แคสนั่น




ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านนาทอนและพื้นที่ ม.1 ม.2 ม.3 ม.6 และ ม.7 ต.นาทอน จังหวัด

รหัสโครงการ L5294 เลขที่ข้อตกลง 09/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านนาทอนและพื้นที่ ม.1 ม.2 ม.3 ม.6 และ ม.7 ต.นาทอน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านนาทอนและพื้นที่ ม.1 ม.2 ม.3 ม.6 และ ม.7 ต.นาทอน รหัสโครงการ L5294 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

*สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นว่าแนวโน้มการนำเข้าสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสูงขึ้น ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่งสูงขึ้นเช่นกัน กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มแรงงานที่สำคัญของประเทศ และยังคงมีปัญหาการเจ็บป่วยจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสารกำจัดแมลง ซึ่งอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชดังกล่าวทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย สารเคมีที่เข้าไปสะสมจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนจนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จนแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจเอาละอองสารเคมีที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานน้ำและอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้น ทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชนและผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้นตำบลนาทอนก็เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำสวนยางพาราสวนปาล์มปลูกผักและทำไร่และยังคงมีเกษตรกรที่ใช้สารเคมีทางการเกษตรในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชอยู่ จากข้อมูลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกรตำบลนาทอนยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมากซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรงได้ *จากรายงานสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีในปัจจุบัน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอนได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2568ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ได้รับความรู้วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง รวมทั้งได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นจากเจ้าหน้าที่และรับการตรวจประเมินปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ ความเข้าใจและคำแนะนำเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และการเก็บสารเคมีให้ปลอดภัย
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองสารเคมีในกระแสเลือด ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่มีสารเคมีตกค้างในเลือดปริมาณสูง ได้ปรับพฤติกรรมตนเอง หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และวิธีการดูแลตัวเองที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม.
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6 และ ม.7 ตำบลนาทอน
  3. สำรวจและคัดกรองเกษตรกรในพื้นที่ด้วยแบบคัดกรอง นบก.1-56
  4. กิจกรรมกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการอบรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจและคำแนะนำเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และการเก็บสารเคมีให้ปลอดภัย ร้อยละ 100
  2. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการอบรม ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองสารเคมีในกระแสเลือด ร้อยละ 100
  3. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่มีสารเคมีตกค้างในเลือดปริมาณสูง ได้ปรับพฤติกรรมตนเอง หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และวิธีการดูแลตัวเองที่ถูกต้อง ร้อยละ 100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ ความเข้าใจและคำแนะนำเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และการเก็บสารเคมีให้ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการอบรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจและคำแนะนำเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และการเก็บสารเคมีให้ปลอดภัย ร้อยละ 100
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองสารเคมีในกระแสเลือด ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการอบรม ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองสารเคมีในกระแสเลือด ร้อยละ 100
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่มีสารเคมีตกค้างในเลือดปริมาณสูง ได้ปรับพฤติกรรมตนเอง หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และวิธีการดูแลตัวเองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 3 เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่มีสารเคมีตกค้างในเลือดปริมาณสูง ได้ปรับพฤติกรรมตนเอง หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และวิธีการดูแลตัวเองที่ถูกต้อง ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ ความเข้าใจและคำแนะนำเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และการเก็บสารเคมีให้ปลอดภัย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองสารเคมีในกระแสเลือด ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่มีสารเคมีตกค้างในเลือดปริมาณสูง ได้ปรับพฤติกรรมตนเอง หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และวิธีการดูแลตัวเองที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม. (2) ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6 และ ม.7 ตำบลนาทอน (3) สำรวจและคัดกรองเกษตรกรในพื้นที่ด้วยแบบคัดกรอง นบก.1-56 (4) กิจกรรมกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ L5294

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหทัยกาญจน์ สันมาหมีน, นางสาวสุมาลิน แคสนั่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด