กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพและสุขศึกษาห่างไกลโรค NCD ”
ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอนุวัฒน์ ปารามะ




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพและสุขศึกษาห่างไกลโรค NCD

ที่อยู่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4136-2-11 เลขที่ข้อตกลง 014/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพและสุขศึกษาห่างไกลโรค NCD จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพและสุขศึกษาห่างไกลโรค NCD



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพและสุขศึกษาห่างไกลโรค NCD " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4136-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและมะเร็ง กลายเป็นภัยระบาดเงียบที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และยังก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอันตรายต่างๆ ที่สามารถทำลายอวัยวะต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เช่น หัวใจวาย ไตวาย เส้นเลือดในสมองตีบแตกเกิดอัมพาต และประสาทตาเสื่อมมัว โรคเหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องอาศัยการรักษาอย่างต่อเนื่องด้วยการทานยาตลอดชีวิต ซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างมหาศาล จึงทำให้ประเทศต้องมีนโยบายในการป้องกันควบคุมโรคเหล่านี้ โดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงในประชากรไทย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้เช่นกรรมพันธุ์อายุและปัจจัยที่สามารถควบคุมได้เช่นความอ้วน , ความเครียด , ขาดการออกกำลังกาย , การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วนการดื่มสุราสูบบุหรี่ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าวร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้นคือ๓๕ปีขึ้นไปย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิตหรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ซึ่งจากข้อมูลสุขภาพ การคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเนียง ปีงบประมาณ 2567 พบว่า ประชานชนที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน มีน้ำตาลปกติ ร้อยละ 70.59 เสี่ยงร้อยละ 10.83 สงสัยป่วยร้อยละ 29.41 และป่วยเป็นโรครายใหม่ จำนวน 5 รายและประชาชนที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปกติร้อยละ 68.43 เสี่ยงร้อยละ 28 สงสัยป่วยร้อยละ 3.57 ดังนั้น หากประชาชนในกลุ่มต่างๆปฏิบัติตัวยังไม่ถูกต้อง หรือขาดความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และขาดความรอบรู้/ตระหนัก ในการจัดการพฤติกรรมสุขภาวะตนเองแล้ว จะส่งผลให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นในทุกๆปี ประกอบกับประชาชนยังขาดการเข้าถึงการดูแลด้านสุขภาพ และขาดการจัดการสุขภาพของชุมชนโดยชุมชนเองในการดูแลหรือบริการอย่างต่อเนื่องและใกล้บ้านใกล้ใจ ไม่ว่าจะเป็น จุด/สถานที่ให้บริการหรือร่วมจัดการด้านสุขภาพในชุมชน ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพรวมทั้งสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเนียง จึงได้จัดทำโครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพห่างไกลโรค NCD ขึ้นเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ใกล้บ้านใกล้ใจ และสามารถประเมินภาวะสุขภาพตนเองได้เบื้องต้น มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ในชุมชน
  2. จัดตั้งกลุ่มสนับสนุนและให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วย
  3. จัดตั้งระบบการดูแลผู้ป่วย NCD “Health station” (สถานีสุขภาพ) ในชุมชนโดยชุมชน
  4. การติดตามประเมินผล ทุก 3 เดือน เป็นจำนวน 4 ครั้ง/ปี
  5. สรุปถอดบทเรียนโครงการ ทุก 6 เดือน เป็นจำนวน 2 ครั้ง/ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
30
ตัวแทนกลุ่มเสี่ยง และแกนนำ 30
ตัวแทนกลุ่มเสี่ยงหมู่ 1-4 หมู่ 7 คน 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในชุมชนมีความรอบรู้ ความเข้าใจและเกิดความตระหนัก สามารถดูแลและจัดการสุขภาพตนเองสามารถคัดกรองภาวะสุขภาพด้วยตนเองได้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยสามารถดูแลตนเอง และปรับพฤติกรรมโดยไม่เป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ รวมทั้งสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพในชุมชน (ใกล้บ้าน ใกล้ใจ) ได้ทั่วถึง ช่วยประหยัดงบประมาณของครัวเรือนในการเดินทาง และได้รับการดูแลจากชุมชนโดยทีมคณะทำงานของชุมชนเองอย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
30
ตัวแทนกลุ่มเสี่ยง และแกนนำ 30
ตัวแทนกลุ่มเสี่ยงหมู่ 1-4 หมู่ 7 คน 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ในชุมชน (2) จัดตั้งกลุ่มสนับสนุนและให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วย (3) จัดตั้งระบบการดูแลผู้ป่วย NCD “Health station” (สถานีสุขภาพ) ในชุมชนโดยชุมชน (4) การติดตามประเมินผล ทุก 3 เดือน เป็นจำนวน 4 ครั้ง/ปี (5) สรุปถอดบทเรียนโครงการ ทุก 6 เดือน เป็นจำนวน 2 ครั้ง/ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนต้นแบบจัดการสุขภาพและสุขศึกษาห่างไกลโรค NCD จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4136-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนุวัฒน์ ปารามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด