กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมกันระหว่างญาติและผู้ป่วย ปี 2568 ”
ตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางฟารีดา สนิ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมกันระหว่างญาติและผู้ป่วย ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4160-01-008 เลขที่ข้อตกลง 012/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 29 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมกันระหว่างญาติและผู้ป่วย ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมกันระหว่างญาติและผู้ป่วย ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมกันระหว่างญาติและผู้ป่วย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4160-01-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 29 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคจิตเภทเป็นโรคเรื้อรังที่ทำให้เกิดความเสื่อมถอยของบุคลิกภาพ การรับรู้ อารมณ์ พฤติกรรม และการตัดสินใจ ในบางรายหากมีอารมณ์แปรปรวนอาจมีการทำร้ายตนเองและผู้อื่นได้ ผู้ป่วยโรคจิตเภทเมื่อเจ็บป่วยในระยะเริ่มแรกไม่สามารถควบคุมอารมณ์และดูแลตนเองได้ เกือบทุกคนต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือจากคนอื่น และหลังจากอาการทางจิตดีขึ้นมากกว่าร้อยละ 70 ต้องได้รับการดูแลจากญาติ และร้อยละ 50 มีการกำเริบซ้ำภายใน 1 ปี เนื่องจากมีปัจจัยหลายๆด้านเป็นตัวกระตุ้น เช่น ด้านตัวผู้ป่วย ด้านครอบครัวและด้านสิ่งแวดล้อม ดังนั้นผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องให้ญาติเป็นผู้ดูแลเกือบตลอดชีวิต จากปัญหาดังกล่าว ส่งผลให้ญาติผู้ดูแล รู้สึกเบื่อหน่าย ท้อแท้ สิ้นหวัง เครียด รังเกียจผู้ป่วย บางครั้งใช้อารมณ์รุนแรงในการดูแล และในที่สุดทอดทิ้งผู้ป่วยให้อยู่ตามลำพัง หรือไล่ผู้ป่วยออกจากบ้านจนกลายเป็นคนเร่ร่อน ส่งผลให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอาการทางจิตกำเริบและสร้างความเดือดร้อนให้สังคม จากทะเบียนผู้ป่วยโรคจิตเวชของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเนินงาม ตั้งแต่ปี 2558 – 2565 จำนวน 80 ราย มีญาติดูแลจริง จำนวน 10 ราย คนที่มีพฤติกรรมเฝ้าระวัง จำนวน 15 ราย คนที่มีอาการทางจิตกำเริบพร้อม อาละวาด จำนวน 5 ราย ซึ่งที่ผ่านมาผู้รับผิดชอบงานให้การดูแลโดยการให้ความรู้เรื่องโรคจิตเภท แก่ผู้ป่วยและญาติ มีการติดตามเยี่ยมบ้าน และการบริหารยาให้ผู้ป่วยสะดวกในการรับประทานยา โดยการรับยาจากโรงพยาบาลรามัน แล้วให้บริการผู้ป่วย เพื่อความสะดวกแก่ผู้ป่วยและญาติในการรับยาอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังพบว่าญาติผู้ดูแล ยังมีความเครียด เบื่อหน่ายในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังรักษาไม่หายอยากให้หน่วยงานรัฐนำผู้ป่วยไปดูแลต่อ และทอดทิ้งผู้ป่วยอยู่ตามลำพัง สำหรับตัวผู้ป่วยเองก็เบื่อหน่ายในการรับประทานยาตลอดชีวิต รู้สึกอับอายไม่อยากให้คนอื่นรับรู้ว่าตนเองเจ็บป่วยด้วยโรคจิตเภทไม่อยากรับยา ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเนินงาม จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมกันระหว่างญาติและผู้ป่วย ปี 2567 เพื่อให้ญาติผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเรื่องการส่งเสริมให้รับประทานยาอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ลดการใช้อารมณ์ที่รุนแรงในการดูแล สามารถสังเกตอาการเตือนก่อนอาการกำเริบได้และสามารถดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นเมื่อผู้ป่วยมีอาการทางจิตกำเริบได้สำหรับตัวผู้ป่วยจิตเวช เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัวและชุมชนได้อย่างปกติสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพผู้ป่วยจิตเวชในการดูแลตนเอง
  2. 2เพื่อเพิ่มศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
  3. 3.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชและญาติสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในครอบครัวได้อย่างปกติสุข
  4. 4.เพื่อให้ผู้นำท้องถิ่นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วิธีดำเนินการ 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานวิทยาการในการให้ความรู้ 3. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข 2.ผู้ป่วยจิตเวชไม่มีอาการกำเริบ ก้าวร้าว อาละวาด 3.ญาติสามารถดูแลจัดการเบื้องต้นได้ เมื่อผู้ป่วยมีอาการทางจิตกำเริบ และมีแนวทางในการขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพผู้ป่วยจิตเวชในการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2เพื่อเพิ่มศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชและญาติสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในครอบครัวได้อย่างปกติสุข
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อให้ผู้นำท้องถิ่นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพผู้ป่วยจิตเวชในการดูแลตนเอง (2) 2เพื่อเพิ่มศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชและญาติสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในครอบครัวได้อย่างปกติสุข (4) 4.เพื่อให้ผู้นำท้องถิ่นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิธีดำเนินการ 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานวิทยาการในการให้ความรู้ 3. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมกันระหว่างญาติและผู้ป่วย ปี 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4160-01-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฟารีดา สนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด