โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
อาจารย์ ดร.สุพัสจี เดชทิพย์พรพงศ์ /คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3346-2-11 เลขที่ข้อตกลง 022/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3346-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโลกอยู่ในสถานการณ์ที่เรียกว่า “สังคมผู้สูงอายุ” หลายประเทศกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์สถานการณ์ ดังกล่าวสะท้อนภาวะสุขภาพของประชากร ภาระการดูแลของครอบครัวรวม ระบบบริการสุขภาพ และสวัสดิการด้านสังคม การเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้สูงอายุยังเป็นไปในทิศทางเดียวกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยพาะโรคเบาหวาน จากการรายงานของสหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติ ในปีพ.ศ. 2564 พบว่าประชากรผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเบาหวานมีประชากร 537 ล้านคนทั่วโลก หรือคิดเป็นร้อยละ 10.5 ได้รับการวินิจฉัยเป็นเบาหวาน และคาดว่าจำนวนจะเพิ่มมากขึ้นเป็น 643 ล้านคน ในปีพ.ศ. 2573 และ 783 ล้านคนในปีพ.ศ. 2588 ตามลำดับ ต่อเนื่อง (กานต์ เวชอภิกุล,2566) สำหรับสถานการณ์ในประเทศไทยจากการสำรวจความชุกของเบาหวานในประชากรผู้สูงอายุ พบความชุกร้อยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2564 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.5 ในปี พ.ศ. 2566 (สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย , 2565) นอกจากนั้นยังพบว่าจำนวนประชากรในประเทศไทยป่วยเป็นโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ใน ปี 2567 มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอัตราร้อยละ 58.37 (กระทรวงสาธารณสุข ,2567) ประชากรผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน เป็นกลุ่มที่มีปัญหาด้านการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งภาวะการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ส่งผลกระทบต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งแบบเรื้อรังและเฉียบพลัน โดยเฉพาะภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่เสี่ยงต่ออันตรายถึงชีวิตหากแก้ไขไม่ทัน และมีภาวะแทรกซ้อนกับหลอดเลือด เช่น ไตวายเรื้อรังที่เป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ ภาวะแทรกซ้อนที่ตา ระบบการรับรู้ความรู้สึกลดลง และเท้าติดเชื้อ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตผู้ป่วยลดลง เกิดความสูญเสียทั้งที่เป็นค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อม (วนิดา แซ่เฮง ,2567) พื้นที่ตำบลบ้านพร้าวมีผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจัดบริการที่ช่วยสนับสนุนการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ในฐานะหน่วยงานที่ทำงานร่วมกับ รพ.สต.ในพื้นที่ ในการส่งนิสิตพยาบาลลงไปฝึกปฏิบัติงานในรายวิชาปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ และการพยาบาลอนามัยชุมชน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาสุขภาพดังกล่าวให้กับประชากรกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมสนันสนุนให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ อันจะนำไปสู่การลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
- เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
- เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
80.00
80.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัว เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
80.00
80.00
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ได้รับการดูแลและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3346-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( อาจารย์ ดร.สุพัสจี เดชทิพย์พรพงศ์ /คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
อาจารย์ ดร.สุพัสจี เดชทิพย์พรพงศ์ /คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3346-2-11 เลขที่ข้อตกลง 022/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3346-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโลกอยู่ในสถานการณ์ที่เรียกว่า “สังคมผู้สูงอายุ” หลายประเทศกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์สถานการณ์ ดังกล่าวสะท้อนภาวะสุขภาพของประชากร ภาระการดูแลของครอบครัวรวม ระบบบริการสุขภาพ และสวัสดิการด้านสังคม การเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้สูงอายุยังเป็นไปในทิศทางเดียวกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยพาะโรคเบาหวาน จากการรายงานของสหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติ ในปีพ.ศ. 2564 พบว่าประชากรผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเบาหวานมีประชากร 537 ล้านคนทั่วโลก หรือคิดเป็นร้อยละ 10.5 ได้รับการวินิจฉัยเป็นเบาหวาน และคาดว่าจำนวนจะเพิ่มมากขึ้นเป็น 643 ล้านคน ในปีพ.ศ. 2573 และ 783 ล้านคนในปีพ.ศ. 2588 ตามลำดับ ต่อเนื่อง (กานต์ เวชอภิกุล,2566) สำหรับสถานการณ์ในประเทศไทยจากการสำรวจความชุกของเบาหวานในประชากรผู้สูงอายุ พบความชุกร้อยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2564 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.5 ในปี พ.ศ. 2566 (สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย , 2565) นอกจากนั้นยังพบว่าจำนวนประชากรในประเทศไทยป่วยเป็นโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ใน ปี 2567 มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอัตราร้อยละ 58.37 (กระทรวงสาธารณสุข ,2567) ประชากรผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน เป็นกลุ่มที่มีปัญหาด้านการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งภาวะการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ส่งผลกระทบต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งแบบเรื้อรังและเฉียบพลัน โดยเฉพาะภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่เสี่ยงต่ออันตรายถึงชีวิตหากแก้ไขไม่ทัน และมีภาวะแทรกซ้อนกับหลอดเลือด เช่น ไตวายเรื้อรังที่เป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ ภาวะแทรกซ้อนที่ตา ระบบการรับรู้ความรู้สึกลดลง และเท้าติดเชื้อ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตผู้ป่วยลดลง เกิดความสูญเสียทั้งที่เป็นค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อม (วนิดา แซ่เฮง ,2567) พื้นที่ตำบลบ้านพร้าวมีผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจัดบริการที่ช่วยสนับสนุนการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ในฐานะหน่วยงานที่ทำงานร่วมกับ รพ.สต.ในพื้นที่ ในการส่งนิสิตพยาบาลลงไปฝึกปฏิบัติงานในรายวิชาปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ และการพยาบาลอนามัยชุมชน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาสุขภาพดังกล่าวให้กับประชากรกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมสนันสนุนให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ อันจะนำไปสู่การลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
- เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
- เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด |
80.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัว เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด |
80.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ได้รับการดูแลและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ มีความรู้ในการดูแลตัวเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3346-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( อาจารย์ ดร.สุพัสจี เดชทิพย์พรพงศ์ /คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......