กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non Communicable Diseases: NCDs) ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
อาจารย์มุขรินทร์ ทองหอม




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non Communicable Diseases: NCDs)

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3346-2-12 เลขที่ข้อตกลง 023/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non Communicable Diseases: NCDs) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non Communicable Diseases: NCDs)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non Communicable Diseases: NCDs) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3346-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคติดต่อไม่เรื้อรัง (Non-Communicable diseases : NCDs) เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญอันดับแรกของโลก จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลก (WHO) ปี พ.ศ. 2564 รายงานสถิติผู้เสียชีวิตจากโรคติดต่อไม่เรื้อรังจำนวน 43 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 45 และในจำนวนผู้เสียชีวิตดังกล่าวอายุน้อยกว่า 70 ปีจำนวน 18 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 82 ปี และในปี พ.ศ. 2565 เสียชีวิตจำนวน 41 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 74 สาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุด ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง การเสียชีวิตเกิดขึ้นในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านสุขภาวะ เศรษฐกิจ และสังคม (WHO, 2025) สำหรับประเทศไทยการเสียชีวิตด้วยโรค NCDs พบว่าอยู่ใน 10 อันดับแรกจำนวน 400,000 รายต่อปี คิดเป็นร้อยละ 81 ของการเสียชีวิตทั้งหมด และจากสถานการณ์อัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (อายุ 30-69 ปี) ด้วยโรค NCDs ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2561 มีอัตราการเสียชีวิตลดลง 118.85, 117.3, 118.14, 114.22 และ112.76 ต่อประชากร 100,000 คน ตามลำดับ (กรมควบคุมโรคไม่ติดต่อ, 2566) นอกจากนี้ จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยข้อมูลจาก Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2565 อัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น พ.ศ. 2565 พบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 7,33.7 ต่อประชากรแสนคน และอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 15,109.6 ต่อประชากรแสนคน รวมทั้งอัตราป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 554.8 ต่อประชากรแสนคน และโรคหลอดเลือดสมอง 731.5 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน
ทางทีมคณะผู้จัดทำโครงการเล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non Communicable Diseases: NCDs) และเพื่อให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อของประเทศไทย (พ.ศ. 2566-2570) โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประเทศไทยโดยทุกภาคส่วนมีการดำเนินงานอย่างเข้มแข็งในการคุ้มครอง ป้องกัน ควบคุม NCDs อย่างเป็นธรรม ให้ประชาชนสามารถจัดการสุขภาพตนเองให้พ้นจากโรค NCDs ที่ป้องกันได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอายุ 50 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า
  2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอายุ 50 ปีขึ้นไปมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรอง ประชาชนอายุ 50 ปีขึ้นไปตรวจคัดกรอง โรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติอต่อ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ประเมินความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติอต่อ
  3. กิจกรรมติดตามผลการปฏิบัติตัวและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระยะเวลา 1,3 และ 6 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 50 ของประชาชนอายุ 50 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง โรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ
  2. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรค
  3. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอายุ 50 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : แบบคัดกรองภาวะสุขภาพโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง ใช้แบบประเมิน Thai CV risk score และภาวะซึมเศร้า ใช้แบบสอบถามสุขภาพผู้ป่วย (Patient Health Questionnaire: PHQ-9)
80.00 80.00

 

2 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอายุ 50 ปีขึ้นไปมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า ใช้แบบประเมินความรู้
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอายุ 50 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า (2) ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอายุ 50 ปีขึ้นไปมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง ประชาชนอายุ 50 ปีขึ้นไปตรวจคัดกรอง โรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติอต่อ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ประเมินความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติอต่อ (3) กิจกรรมติดตามผลการปฏิบัติตัวและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระยะเวลา 1,3 และ 6 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non Communicable Diseases: NCDs) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3346-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาจารย์มุขรินทร์ ทองหอม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด