กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีจิตแจ่มใส ห่างไกลสมองเสื่่อม ปี 2568 ”
ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวพรพิสุทธิ์ ใจสมุทร




ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีจิตแจ่มใส ห่างไกลสมองเสื่่อม ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3033-1-05 เลขที่ข้อตกลง 6/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2568 ถึง 29 พฤษภาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีจิตแจ่มใส ห่างไกลสมองเสื่่อม ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีจิตแจ่มใส ห่างไกลสมองเสื่่อม ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีจิตแจ่มใส ห่างไกลสมองเสื่่อม ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3033-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2568 - 29 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งกำลังอยู่ในช่วงการเปลี่ยน ผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ และเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น บวกกับอายุที่ยืนยาวขึ้น และหนึ่งในโรคที่มักจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ คือโรคสมองเสื่อม ซึ่งเป็นโรคที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับอายุที่มากขึ้น ร่างกายและสมองของผู้สูงอายุอาจเสื่อมสภาพตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะสมองเสื่อม (Dementia) หรือโรคอัลไซเมอร์ โรคสมองเสื่อมเป็นความผิดปกติที่สมองทำงานด้อยลงจากเดิมจนมีผลกระทบต่อการทำงานหรือการใช้ชีวิตประจำวันของบุคคลนั้นๆ และทำให้ความรอบรู้ ความเฉลียวฉลาด ความคิด การตัดสินใจ เปลี่ยนแปลงไปในทางลดลง นอกจากนี้ปัญหาสำคัญที่พบในผู้ป่วยสมองเสื่อมมี ๒ ประการ คือ ปัญหาความจำและพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ซึ่งพบว่าผู้ป่วยจะมีการสูญเสียความจำระยะสั้นก่อนแล้วจึงสูญเสียความจำระยะยาวตลอดจนความสามารถในการตัดสินใจ ทำให้เป็นภาระแก่ผู้ดูแลและครอบครัวที่ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อระมัดระวัง การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ จากปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อทั้งผู้สูงอายุและผู้ดูแลอย่างมากในหลายด้าน โดยเฉพาะทางด้านจิตใจเพราะทำให้เกิดความเครียดที่ต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต จนบางครั้งอาจเกิดภาวะซึมเศร้าได้ในบางราย ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและทำให้เกิดภาระทางสังคมและเศรษฐกิจ สำหรับผู้สูงอายุที่ยังคงมีสภาพร่างกายแข็งแรงและสมองที่คมชัด การดูแลและส่งเสริมสุขภาพที่ดีจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม การออกกำลังกาย การฝึกสมอง และการดูแลสุขภาพจิตเป็นกลไกสำคัญที่ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถมีชีวิตที่ยืนยาวและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โครงการนี้จึงถูกออกแบบมาเพื่อส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจของผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตที่มีความสุข ห่างไกลจากภาวะสมองเสื่อม และมีความสามารถในการดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในภาวะเช่นนี้คือ การเตรียมพร้อมเพื่อการป้องกันการเกิดโรคภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นตามมาพร้อมๆ โรคสมองเสื่อมเป็นความผิดปกติที่สมองทำงานด้อยลงจากเดิมจนมีผลกระทบต่อการทำงานการส่งเสริมสุขภาพกายและใจที่ดีรวมถึงการกระตุ้นการทำงานของสมองสามารถช่วยป้องกันและชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้ รพ.สต.ระแว้ง ได้ตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาจากโรคสมองเสื่อม จึงได้จัดทำโครงการ "ผู้สูงอายุสุขภาพดีจิตแจ่มใส ห่างไกลสมองเสื่อม" ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อม
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบถึงแนวทางทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองกระตุ้นการทำงานของสมองโดยการทำกิจกรรม ชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อม เพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม
  3. เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน
  4. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับชุมชนเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุและการป้องกันภาวะสมองเสื่อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมกระตุ้นการทำงานของสมอง ฝึกทักษะบริหารสมองด้วยเกมส์ต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิด ความจำและการสั่งการของสมอง
  3. สร้างการเชื่อมโยงทางสังคมสร้างความตระหนักให้กับชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมมากขึ้น ๒. ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตตนเองได้ดีขึ้นเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม ๓.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนในชุมชนมากขึ้นมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรรมและได้พบปะพูดคุยใกล้ชิดกัน ๔.ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด :
180.00 1.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบถึงแนวทางทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองกระตุ้นการทำงานของสมองโดยการทำกิจกรรม ชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อม เพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด :
180.00 1.00

 

3 เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด :
180.00 1.00

 

4 เพื่อสร้างความตระหนักให้กับชุมชนเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุและการป้องกันภาวะสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด :
180.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบถึงแนวทางทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองกระตุ้นการทำงานของสมองโดยการทำกิจกรรม ชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อม เพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม (3) เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน (4) เพื่อสร้างความตระหนักให้กับชุมชนเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุและการป้องกันภาวะสมองเสื่อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมกระตุ้นการทำงานของสมอง ฝึกทักษะบริหารสมองด้วยเกมส์ต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิด ความจำและการสั่งการของสมอง (3) สร้างการเชื่อมโยงทางสังคมสร้างความตระหนักให้กับชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีจิตแจ่มใส ห่างไกลสมองเสื่่อม ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3033-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพรพิสุทธิ์ ใจสมุทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด