กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเด็กดีราชประชา สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวไลลา เจะซู




ชื่อโครงการ โครงการเด็กดีราชประชา สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ L6959-68-2-09 เลขที่ข้อตกลง 09/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กดีราชประชา สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กดีราชประชา สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กดีราชประชา สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ L6959-68-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการของนักเรียนระดับประถมศึกษา มีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเด็กนักเรียนเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญในการสร้างพื้นฐานสุขภาพที่แข็งแรงและการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อให้ นักเรียนได้มีโอกาสเติบโตและเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสมบูรณ์ทางสุขภาพ สำหรับสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่เพียงปัญหาเรื่องหลักที่ต้องเผชิญกับความไม่สงบในพื้นพื้นที่ แต่เด็กและเยาวชนยังมีปัญหาจากบริบทพื้นที่ที่ไม่เอื้ออำนวยอื่น ๆ อีกมากมายที่ส่งผลให้เกิดปัญหาทุพโภชนาการในเด็กที่มีแนวโน้มน่ากังวลมากที่สุด ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กในระยะยาว โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 10 อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 เป็นโรงเรียนในโครงการพระราชดำริที่มีขนาดเล็ก มีนักเรียน จำนวน 120 คน คน เป็น โรงเรียนในเขตพื้นที่ชนบท ห่างไกลตัวเมืองนราธิวาส ประมาณ 27 กิโลเมตร สภาพชุมชนรอบโรงเรียนมีลักษณะหนาแน่นเป็นบางพื้นที่ มีประชากรประมาณ 1.210 คน (ร้อยละ 100 นับถือศาสนาอิสลาม) อาชีพหลักของคนในชุมชน คือ รับจ้าง ทำนาและเกษตรกรรม ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่ยากจนและชาดโอกาสทางการศึกษานักเรียนบางส่วนอาศัยอยู่กับปู่ย่า ตายาย ผู้ปกครองไม่ค่อยมีเวลาในการดูแลบุตรหลานในช่วงตอนเช้าซึ่งเป็น ชั่วโมงเร่งด่วนของวัน ทำให้นักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และเลือกที่จะซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์มากินแทนอาหารเช้า สำหรับนักเรียนที่ยากจน ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน จากการประเมินพฤติกรรมทางสุขภาพที่มีความเสี่ยงของนักเรียนในโรงเรียนในปีที่ผ่านมา พบว่า นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ ภาวะผอม ร้อยละ 10 ภาวะเริ่มอ้วน ร้อยละ 5 ภาวะอ้วน ร้อยละ 3 และภาวะเตี้ย ร้อยละ 20 ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาจรฐาน และก่อให้เกิดผลเสียต่อพัฒนาการทางกายและพัฒนาการทางสมองของนักเรียน ซึ่งส่วนใหญ่ในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นเด็กที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะ ยากจน นักเรียนร้อยละ 10 มีน้ำหนักน้อย ขาดสารอาหาร พัฒนาการช้า เป็นโรคง่ายและป่วยบ่อยโรงเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงต้องการที่จะแก้ไขและดำเนินการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของ นักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมและมีสุขภาวะที่ดี ให้นักเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์และปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนานโยบายสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย และมีแผนการนำใช้ในโรงเรียน อย่างชัดเจน
  2. เพื่อจัดบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ให้กับนักเรียนและ บุคลากรของโรงเรียน
  3. เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการมีพฤติกรรมสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการ และอาหารที่ปลอดภัย เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้และเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะสุขภาพของนักเรียนให้ สุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดีของครอบครัวและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติเสริมสร้าง ความรอบรู้ด้านสุขภาพและสุขภาวะในด้านโภชนาการ
  2. อบรมให้ความรู้อาหารหลัก 5 หมู่
  3. กิจกรรมการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นโยบายและแผนปฏิบัติ การเสริมสร้างความรอบรู้ ด้านสุขภาพและสุขภาวะ ที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติ ได้
  2. คณะครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครอง และนักเรียนมีส่วนร่วม และให้ความร่วมมือใน การจัดทำนโยบายและ แผนปฏิบัติการเสริมสร้าง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และสุขภาวะ
  3. นักเรียน ผู้ปกครอง และ คนในชุมชนเกิดความรอบ รู้ด้านสุขภาพ ประเด็นานโภชนาการและ อาหารที่ปลอดภัย
  4. นักเรียน ผู้ปกครองและ คนในชุมชน มีพฤติกรรม สุ ข ภ า พ ป ร เ ด็ น ด้ า น โภชนาการและอาหารที่ ปลอดภัย เหมาะสม และ สามารถเป็นตัวอย่างที่ดี บอกกล่าวความรู้ด้าน สุขภาพให้กับเพื่อนและ ครอบครัวได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนานโยบายสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย และมีแผนการนำใช้ในโรงเรียน อย่างชัดเจน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อจัดบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ให้กับนักเรียนและ บุคลากรของโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการมีพฤติกรรมสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการ และอาหารที่ปลอดภัย เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้และเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะสุขภาพของนักเรียนให้ สุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดีของครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนานโยบายสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย และมีแผนการนำใช้ในโรงเรียน อย่างชัดเจน (2) เพื่อจัดบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ให้กับนักเรียนและ บุคลากรของโรงเรียน (3) เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการมีพฤติกรรมสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการ และอาหารที่ปลอดภัย เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้และเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะสุขภาพของนักเรียนให้ สุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดีของครอบครัวและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติเสริมสร้าง ความรอบรู้ด้านสุขภาพและสุขภาวะในด้านโภชนาการ (2) อบรมให้ความรู้อาหารหลัก 5 หมู่ (3) กิจกรรมการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กดีราชประชา สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข จังหวัด

รหัสโครงการ L6959-68-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวไลลา เจะซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด