โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ”
ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซือน๊ะ ยูดาหะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4156-03-01 เลขที่ข้อตกลง 02
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4156-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ครอบครัว เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กและสำคัญที่สุด ทำหน้าที่หล่อหลอมและขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกของครอบครัว ด้วยการอบรมเลี้ยงดู ให้ความรัก ความเอื้ออาทร ความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน พร้อมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้แก่สมาชิกในครอบครัว เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีความพร้อมที่จะทำงานอย่างเต็มที่และสร้างสรรค์ สังคมจะเข้มแข็ง หรืออ่อนแอล้วนขึ้นอยู่กับความเข้มแข็งของครอบครัว หากครอบครัวอ่อนแอ สังคมย่อมเคลื่อนไปได้อย่างลำบาก หากครอบครัวที่มีความเข้มแข็งย่อมส่งผลต่อพลังสร้างสรรค์เรื่องราวดี ๆ ของสมาชิกในครอบครัว เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติต่อไป
โดยในปัจจุบันครอบครัวไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากลักษณะครอบครัวขยายมาเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ครอบครัวขยายที่มีปู่ย่าตายายและเครือญาติอื่น ๆ อยู่ภายในครอบครัวลดลง ในขณะเดียวกันครอบครัวเดี่ยวที่มีพ่อ แม่ และลูก เพิ่มขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงลักษณะของครอบครัวดังกล่าว ส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ตามลำพังคนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้นทำให้ผู้สูงอายุดังกล่าวไม่ได้รับการดูแลเท่าที่
ควร โดยเฉพาะผู้สูงอายุในชนบทจำนวนมากที่ถูกทอดทิ้งให้รับภาระเลี้ยงดูหลานเนื่องจากพ่อแม่ไปประกอบอาชีพต่างถิ่นทำให้ผู้สูงอายุที่อยู่ในวัยควรจะได้พักผ่อน ต้องรับผิดชอบดูแลเด็กที่ยังช่วยตนเองไม่ได้ ในขณะเดียวกันผู้สูงอายุเองก็ต้องได้รับการดูแลเช่นเดียวกัน ครอบครัวจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้สูงอายุ เป็นสิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการมากที่สุด โดยที่ครอบครัวไม่ควรปล่อยให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ตามลำพัง หรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรส แต่ควรดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิด และเป็นครอบครัวเดียวกัน
การเข้าค่ายครอบครัวเป็นกระบวนการเริ่มต้นสู่การเสริมสร้างพลังรักของครอบครัวการเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ที่สร้างโอกาสให้สมาชิกในครอบครัวได้พูดคุยรับฟังความคิดของกันและกันได้ทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ร่วมกันและได้นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของครอบครัว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ใช้ความรุนแรงในครอบครัว และการมีจิตสานึกที่ดีในการเป็นสมาชิกในชุมชน
จึงได้จัดทำโครงการ “ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม”ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุและสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจของผู้สูงอายุรู้วิธีป้องกันโรคและอาการของโรคที่มักเกิดกับผู้สูงอายุรู้บทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัวที่มีต่อการดูแลผู้สูงอายุรู้วิธีเฝ้าระวังและจัดพื้นที่ปลอดภัยให้กับผู้สูงอายุสมาชิกในครอบครัวมีการสื่อสารที่เหมาะสมระหว่างคนต่างวัยพร้อมทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ร่วมกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำไปสู่การมีสุขภาพดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีจิตใจแจ่มใส ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
- เกิดความรักความเข้าใจมากขึ้นในครอบครัว ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดี ได้รับการเอาใจใส่
- ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
- มีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านครอบครัว คนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น
- เกิดความรัก ความสามัคคี มีการเอื้ออาทรในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำไปสู่การมีสุขภาพดี
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีความรู้และได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม
๒. ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำไปสู่การมีสุขภาพดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4156-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวซือน๊ะ ยูดาหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ”
ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซือน๊ะ ยูดาหะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4156-03-01 เลขที่ข้อตกลง 02
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4156-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ครอบครัว เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กและสำคัญที่สุด ทำหน้าที่หล่อหลอมและขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกของครอบครัว ด้วยการอบรมเลี้ยงดู ให้ความรัก ความเอื้ออาทร ความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน พร้อมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้แก่สมาชิกในครอบครัว เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีความพร้อมที่จะทำงานอย่างเต็มที่และสร้างสรรค์ สังคมจะเข้มแข็ง หรืออ่อนแอล้วนขึ้นอยู่กับความเข้มแข็งของครอบครัว หากครอบครัวอ่อนแอ สังคมย่อมเคลื่อนไปได้อย่างลำบาก หากครอบครัวที่มีความเข้มแข็งย่อมส่งผลต่อพลังสร้างสรรค์เรื่องราวดี ๆ ของสมาชิกในครอบครัว เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติต่อไป โดยในปัจจุบันครอบครัวไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากลักษณะครอบครัวขยายมาเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ครอบครัวขยายที่มีปู่ย่าตายายและเครือญาติอื่น ๆ อยู่ภายในครอบครัวลดลง ในขณะเดียวกันครอบครัวเดี่ยวที่มีพ่อ แม่ และลูก เพิ่มขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงลักษณะของครอบครัวดังกล่าว ส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ตามลำพังคนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้นทำให้ผู้สูงอายุดังกล่าวไม่ได้รับการดูแลเท่าที่ ควร โดยเฉพาะผู้สูงอายุในชนบทจำนวนมากที่ถูกทอดทิ้งให้รับภาระเลี้ยงดูหลานเนื่องจากพ่อแม่ไปประกอบอาชีพต่างถิ่นทำให้ผู้สูงอายุที่อยู่ในวัยควรจะได้พักผ่อน ต้องรับผิดชอบดูแลเด็กที่ยังช่วยตนเองไม่ได้ ในขณะเดียวกันผู้สูงอายุเองก็ต้องได้รับการดูแลเช่นเดียวกัน ครอบครัวจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้สูงอายุ เป็นสิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการมากที่สุด โดยที่ครอบครัวไม่ควรปล่อยให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ตามลำพัง หรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรส แต่ควรดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิด และเป็นครอบครัวเดียวกัน การเข้าค่ายครอบครัวเป็นกระบวนการเริ่มต้นสู่การเสริมสร้างพลังรักของครอบครัวการเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ที่สร้างโอกาสให้สมาชิกในครอบครัวได้พูดคุยรับฟังความคิดของกันและกันได้ทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ร่วมกันและได้นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของครอบครัว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ใช้ความรุนแรงในครอบครัว และการมีจิตสานึกที่ดีในการเป็นสมาชิกในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการ “ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม”ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุและสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจของผู้สูงอายุรู้วิธีป้องกันโรคและอาการของโรคที่มักเกิดกับผู้สูงอายุรู้บทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัวที่มีต่อการดูแลผู้สูงอายุรู้วิธีเฝ้าระวังและจัดพื้นที่ปลอดภัยให้กับผู้สูงอายุสมาชิกในครอบครัวมีการสื่อสารที่เหมาะสมระหว่างคนต่างวัยพร้อมทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ร่วมกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำไปสู่การมีสุขภาพดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 140 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีจิตใจแจ่มใส ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
- เกิดความรักความเข้าใจมากขึ้นในครอบครัว ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดี ได้รับการเอาใจใส่
- ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
- มีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านครอบครัว คนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น
- เกิดความรัก ความสามัคคี มีการเอื้ออาทรในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำไปสู่การมีสุขภาพดี ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีความรู้และได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๒. ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีขึ้น |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำไปสู่การมีสุขภาพดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ผู้สูงอายุ เกะรอสุขภาพดี โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4156-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวซือน๊ะ ยูดาหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......