ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร ”
ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายทวี จบสองชั้น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร
ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L1513 – 01 – 013 เลขที่ข้อตกลง 20/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68 – L1513 – 01 – 013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,705.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis of the Knee) เป็นภาวะที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนผิวข้อที่ผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้มีอาการปวดข้อ เข่าฝืดยึด ข้อบวม และเคลื่อนไหวลำบาก โดยมักพบมากในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตอย่างมาก ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม อีกทั้งยังอาจทำให้โรคประจำตัวอื่น เช่น โรคเบาหวาน หรือความดันโลหิตสูง กำเริบได้ เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถออกกำลังกายหรือเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างเหมาะสมปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อมมีหลากหลาย ทั้งจากความเสื่อมของร่างกายตามอายุ การใช้งานข้อเข่าไม่เหมาะสมตั้งแต่วัยหนุ่มสาว น้ำหนักตัวมากเกินไป หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่า รวมถึงการติดเชื้อและโรคไขข้อบางชนิด เช่น โรครูมาตอยด์ การรักษาส่วนใหญ่ยังคงพึ่งพาการใช้ยาเป็นหลัก ซึ่งหากใช้เป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น การระคายเคืองในระบบทางเดินอาหาร หรือผลกระทบต่อตับและไต นอกจากนี้ ผู้ป่วยจำนวนมากยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ส่งผลให้ไม่สามารถจัดการภาวะข้อเข่าเสื่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ จังหวัดตรัง มีผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ ทั้งหมด 1,005 คน คิดเป็นร้อยละ 21.34 ของประชากรทั้งหมด สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร” ขึ้น เพื่อคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจในสาเหตุ อาการ การป้องกัน และการจัดการภาวะปวดเข่า เพื่อช่วยจัดการภาวะปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ได้ส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยที่สามารถหาได้ง่ายในชุมชน ซึ่งมีสรรพคุณช่วยลดอาการปวดและการอักเสบ มาใช้ในการพอกเข่า ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการดูแลสุขภาพ ลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน และช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม โดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score)
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมการจัดการภาวะปวดเข่าและข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ด้วยวิธีที่ปลอดภัย เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- พอกเข่าด้วยสมุนไพร
- คัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม ตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score)
2.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
3.ผู้สูงอายุมีปัญหาข้อเข่า มีอาการปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อมลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม โดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score)
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง
0.00
3
เพื่อส่งเสริมการจัดการภาวะปวดเข่าและข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ด้วยวิธีที่ปลอดภัย เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีอาการปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อมลดลง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม โดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมการจัดการภาวะปวดเข่าและข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ด้วยวิธีที่ปลอดภัย เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) พอกเข่าด้วยสมุนไพร (3) คัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L1513 – 01 – 013
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายทวี จบสองชั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร ”
ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายทวี จบสองชั้น
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L1513 – 01 – 013 เลขที่ข้อตกลง 20/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68 – L1513 – 01 – 013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,705.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis of the Knee) เป็นภาวะที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนผิวข้อที่ผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้มีอาการปวดข้อ เข่าฝืดยึด ข้อบวม และเคลื่อนไหวลำบาก โดยมักพบมากในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตอย่างมาก ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม อีกทั้งยังอาจทำให้โรคประจำตัวอื่น เช่น โรคเบาหวาน หรือความดันโลหิตสูง กำเริบได้ เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถออกกำลังกายหรือเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างเหมาะสมปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคข้อเข่าเสื่อมมีหลากหลาย ทั้งจากความเสื่อมของร่างกายตามอายุ การใช้งานข้อเข่าไม่เหมาะสมตั้งแต่วัยหนุ่มสาว น้ำหนักตัวมากเกินไป หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่า รวมถึงการติดเชื้อและโรคไขข้อบางชนิด เช่น โรครูมาตอยด์ การรักษาส่วนใหญ่ยังคงพึ่งพาการใช้ยาเป็นหลัก ซึ่งหากใช้เป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น การระคายเคืองในระบบทางเดินอาหาร หรือผลกระทบต่อตับและไต นอกจากนี้ ผู้ป่วยจำนวนมากยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ส่งผลให้ไม่สามารถจัดการภาวะข้อเข่าเสื่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ จังหวัดตรัง มีผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ ทั้งหมด 1,005 คน คิดเป็นร้อยละ 21.34 ของประชากรทั้งหมด สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร” ขึ้น เพื่อคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจในสาเหตุ อาการ การป้องกัน และการจัดการภาวะปวดเข่า เพื่อช่วยจัดการภาวะปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ได้ส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยที่สามารถหาได้ง่ายในชุมชน ซึ่งมีสรรพคุณช่วยลดอาการปวดและการอักเสบ มาใช้ในการพอกเข่า ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการดูแลสุขภาพ ลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน และช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม โดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score)
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมการจัดการภาวะปวดเข่าและข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ด้วยวิธีที่ปลอดภัย เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- พอกเข่าด้วยสมุนไพร
- คัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม ตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score)
2.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
3.ผู้สูงอายุมีปัญหาข้อเข่า มีอาการปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อมลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม โดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมการจัดการภาวะปวดเข่าและข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ด้วยวิธีที่ปลอดภัย เหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีอาการปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อมลดลง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม โดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมหรืออาการปวดเข่า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การป้องกัน และแนวทางการจัดการภาวะปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมการจัดการภาวะปวดเข่าและข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ด้วยวิธีที่ปลอดภัย เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) พอกเข่าด้วยสมุนไพร (3) คัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการพอกยาสมุนไพร จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68 – L1513 – 01 – 013
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายทวี จบสองชั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......