กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดและภัยสุขภาพในชุมชน ตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางปารีดะ แก้วกรด




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดและภัยสุขภาพในชุมชน ตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2479-5-01-2568 เลขที่ข้อตกลง 30/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดและภัยสุขภาพในชุมชน ตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดและภัยสุขภาพในชุมชน ตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดและภัยสุขภาพในชุมชน ตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-5-01-2568 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 148,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของตำบลบูกิต ตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดมากที่สุด มีการะบาดทุกปี ในปี 2567 ตำบลบูกิตมีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก สถานการณ์โรคไข้เลือดออก 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2563 –ปี 2567) พบว่าตำบลบูกิตมีอัตราป่วยที่เกินเกณฑ์ค่ามัธยฐาน (เกิน 50 ต่อแสนประชากร) และ ปี 2567 ตำบลบูกิต แยกตามรพ.สต. ทั้ง 3 แห่ง ดังนี้พบผู้ป่วยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านปีแนมูดอ พบผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 87 ราย (ผู้ป่วยยืนยัน,ผู้ป่วยเข้าข่าย,ผู้ป่วยสงสัย) โดยแยกเป็นผู้ป่วยยืนยัน 37 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 742.08 ต่อแสนประชากรได้แก่ หมู่ที่ 6 บ้านปาตาบาเซ 4 ราย หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง 13 ราย หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ 6 รายหมู่ที่ 11 บ้าน กำปงบารู5 ราย และหมู่ที่ 12 บ้านบูเกะกือจิ 9 ราย ในพื้นที่เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต จำนวน 5 หมู่บ้าน พบว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมด 125 ราย แยกเป็น หมู่ที่ 1 บ้านเจาะเกาะจำนวนผู้ป่วย 60 ราย หมู่ที่ 2 บ้านบูเกะ จำนวน 21 ราย หมู่ที่ 3 บ้านโต๊ะเล็ง จำนวน 20 ราย หมู่ที่ 9 บ้านบือราแง จำนวน 9 ราย และหมู่ที่ 14 ดารุลอิฮซาน จำนวน 15 ราย พบผู้ป่วยยืนยัน และผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านไอสะเตียร์จำนวน 5 หมู่บ้าน คือหมู่ที่ 4 บ้านกูเว จำนวน 23 ราย หมู่ที่5 บ้านสะเตียร์ จำนวนผู้ป่วย 26 ราย หมู่ที่ 8 บ้านไอสะเตีย จำนวน ผู้ป่วย 27 ราย และหมู่ที่ 13 บ้านไอกูเล็ง จำนวนผู้ป่วย 39 ราย รวมทั้งสิ้น 115 รายซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่สูงกว่าที่กำหนด ดังนั้นการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก และร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยเน้นการมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างองค์กร ชุมชน และประชาชนในพื้นที่ในการดำเนินกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาทีม SRRT ระดับพื้นที่ให้มีความรู้ถึงขีดความสามารถในการเฝ้าระวังสอบสวนและตอบสนอง เร่งด่วนต่อภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้ และให้ทีม SRRT สามารถป้องกันและหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในช่วงระบาด สิ่งสำคัญที่สุด เน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
ดังนั้น ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team: SRRT) ตำบลบูกิต มีการควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เห็นความสำคัญจึงได้จัดโครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดและภัยสุขภาพในชุมชน ตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ ทุกภาคส่วน ประชาชนทุกหมู่บ้าน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและลดการแพร่ระบาดใน พื้นที่ตำบลบูกิต
  2. ให้ชุมชนร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและดำเนินการพ่น หมอกควันในพื้นที่เสี่ยง เช่นโรงเรียน ๓ เดือนต่อครั้ง
  3. พ่นหมอกควัน/ละอองฝอย ผู้ป่วย 1 ราย พ่น 3 ครั้ง
  4. ประชุมทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เครือช่ายสุขภาพตำบลบูกิตครั้งที่ 1
  5. ประชาสัมพันธ์ การเฝ้าระวังและควบคุมโรค
  6. ประชุมทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เครือช่ายสุขภาพตำบลบูกิตครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 186
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
แกนนำสุขภาพ 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

  2. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้

  3. ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ

  4. ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมและป้องกันโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ60)
186.00 40.00

 

2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ ทุกภาคส่วน ประชาชนทุกหมู่บ้าน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : ทุกภาคส่วน ประชาชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค ทุกหมู่บ้าน
14.00 14.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 226
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 186
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
แกนนำสุขภาพ 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ ทุกภาคส่วน ประชาชนทุกหมู่บ้าน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและลดการแพร่ระบาดใน พื้นที่ตำบลบูกิต (2) ให้ชุมชนร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและดำเนินการพ่น หมอกควันในพื้นที่เสี่ยง เช่นโรงเรียน ๓ เดือนต่อครั้ง (3) พ่นหมอกควัน/ละอองฝอย ผู้ป่วย 1 ราย พ่น 3 ครั้ง (4) ประชุมทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เครือช่ายสุขภาพตำบลบูกิตครั้งที่ 1 (5) ประชาสัมพันธ์ การเฝ้าระวังและควบคุมโรค (6) ประชุมทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เครือช่ายสุขภาพตำบลบูกิตครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดและภัยสุขภาพในชุมชน ตำบลบูกิต ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2479-5-01-2568

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปารีดะ แก้วกรด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด