โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาหมัด ตระกูลกลกิจ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-01-03 เลขที่ข้อตกลง 33/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 15 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 15 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
1,000 วันแรกของชีวิต คือ ช่วงเวลาตั้งแต่การปฏิสนธิ และตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด (270 วัน) รวมกับช่วงเวลาตั้งแต่แรกคลอดจนถึงอายุ 2 ปีบริบูรณ์ (730 วัน) 1,000 วันแรกของชีวิตเป็นที่รากฐาน สำคัญของชีวิต เพราะเป็นช่วงเวลาที่มีการพัฒนาทางร่างกาย สมอง จิตใจ และสังคม เนื่องจากเป็นช่วงเวลา ที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง เพิ่มเซลล์สมอง และควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสมร่วมกับความรัก ความอบอุ่นจากการเลี้ยงลูกด้วยวิธีที่ถูกต้อง จะทำให้ทารกเจริญเติบโต และพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุด
โภชนาการขณะตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญ และส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ ในแต่ละวันหญิงตั้งครรภ์จำเป็นต้องได้รับพลังงาน และสารอาหารที่มีคุณค่าครบถ้วนได้แก่ คาร์บอไฮเดรตโปรตีนไขมันวิตามินเกลือแร่ และน้ำในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการของตนเอง และทารกในครรภ์โดยพลังงาน และสารอาหารต่างๆ มาจากอาหารที่หญิงตั้งครรภ์รับประทานซึ่งสารอาหารดังกล่าวจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ในร่างกายและส่งผ่านสารอาหารจากหญิงตั้งครรภ์ไปทางรกสู่ทารกในครรภ์เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์การได้รับสารอาหารที่มีปริมาณและคุณภาพเพียงพอจะส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดีมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์สุขภาพแข็งแรงและทารกในครรภ์เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม
ช่วงหลังคลอดคุณแม่ต้องการสารอาหารมากกว่าตอนตั้งครรภ์ เพราะต้องใช้สำหรับผลิตน้ำนม ดังนั้น หากคุณแม่เตรียมร่างกายให้พร้อม เลือกกินอาหารที่ครบถ้วน เพียงพอ และมีประโยชน์ตามหลักโภชนาการ ก็จะส่งผลต่อคุณภาพ และปริมาณของน้ำนมแม่ ทำให้ลูกเจริญเติบโตแข็งแรง สมส่วนกับวัยของลูกนั่นเอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง
- เพื่อลดอัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
- เพื่อเพิ่มอัตราเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับ ชมรม อสม.ตำบลตลิ่งชัน
- การส่งเสริมโภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ คู่สมรสหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ดูแล ครอบครัว และจิตอาสาในชุมชน จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน
- กิจกรรมติดตาม และประเมินผล
- สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดความร่วมมือของชุมชนในการเพิ่มศักยภาพของครอบครัว และชุมชนในการดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร
- เพิ่มการเข้าถึงบริการทางสังคมที่พึงได้รับในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : ร้อยละอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง
12.00
10.00
2
เพื่อลดอัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : ร้อยละทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
7.50
6.50
3
เพื่อเพิ่มอัตราเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
45.00
55.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง (2) เพื่อลดอัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (3) เพื่อเพิ่มอัตราเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับ ชมรม อสม.ตำบลตลิ่งชัน (2) การส่งเสริมโภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ คู่สมรสหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ดูแล ครอบครัว และจิตอาสาในชุมชน จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน (3) กิจกรรมติดตาม และประเมินผล (4) สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอาหมัด ตระกูลกลกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอาหมัด ตระกูลกลกิจ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-01-03 เลขที่ข้อตกลง 33/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 15 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 15 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
1,000 วันแรกของชีวิต คือ ช่วงเวลาตั้งแต่การปฏิสนธิ และตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด (270 วัน) รวมกับช่วงเวลาตั้งแต่แรกคลอดจนถึงอายุ 2 ปีบริบูรณ์ (730 วัน) 1,000 วันแรกของชีวิตเป็นที่รากฐาน สำคัญของชีวิต เพราะเป็นช่วงเวลาที่มีการพัฒนาทางร่างกาย สมอง จิตใจ และสังคม เนื่องจากเป็นช่วงเวลา ที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง เพิ่มเซลล์สมอง และควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสมร่วมกับความรัก ความอบอุ่นจากการเลี้ยงลูกด้วยวิธีที่ถูกต้อง จะทำให้ทารกเจริญเติบโต และพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุด โภชนาการขณะตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญ และส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ ในแต่ละวันหญิงตั้งครรภ์จำเป็นต้องได้รับพลังงาน และสารอาหารที่มีคุณค่าครบถ้วนได้แก่ คาร์บอไฮเดรตโปรตีนไขมันวิตามินเกลือแร่ และน้ำในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการของตนเอง และทารกในครรภ์โดยพลังงาน และสารอาหารต่างๆ มาจากอาหารที่หญิงตั้งครรภ์รับประทานซึ่งสารอาหารดังกล่าวจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ในร่างกายและส่งผ่านสารอาหารจากหญิงตั้งครรภ์ไปทางรกสู่ทารกในครรภ์เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์การได้รับสารอาหารที่มีปริมาณและคุณภาพเพียงพอจะส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดีมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์สุขภาพแข็งแรงและทารกในครรภ์เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม ช่วงหลังคลอดคุณแม่ต้องการสารอาหารมากกว่าตอนตั้งครรภ์ เพราะต้องใช้สำหรับผลิตน้ำนม ดังนั้น หากคุณแม่เตรียมร่างกายให้พร้อม เลือกกินอาหารที่ครบถ้วน เพียงพอ และมีประโยชน์ตามหลักโภชนาการ ก็จะส่งผลต่อคุณภาพ และปริมาณของน้ำนมแม่ ทำให้ลูกเจริญเติบโตแข็งแรง สมส่วนกับวัยของลูกนั่นเอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง
- เพื่อลดอัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
- เพื่อเพิ่มอัตราเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับ ชมรม อสม.ตำบลตลิ่งชัน
- การส่งเสริมโภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ คู่สมรสหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ดูแล ครอบครัว และจิตอาสาในชุมชน จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน
- กิจกรรมติดตาม และประเมินผล
- สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดความร่วมมือของชุมชนในการเพิ่มศักยภาพของครอบครัว และชุมชนในการดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร
- เพิ่มการเข้าถึงบริการทางสังคมที่พึงได้รับในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ตัวชี้วัด : ร้อยละอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง |
12.00 | 10.00 |
|
|
2 | เพื่อลดอัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ตัวชี้วัด : ร้อยละทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม |
7.50 | 6.50 |
|
|
3 | เพื่อเพิ่มอัตราเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว |
45.00 | 55.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง (2) เพื่อลดอัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (3) เพื่อเพิ่มอัตราเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับ ชมรม อสม.ตำบลตลิ่งชัน (2) การส่งเสริมโภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ คู่สมรสหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ดูแล ครอบครัว และจิตอาสาในชุมชน จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน (3) กิจกรรมติดตาม และประเมินผล (4) สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการโภชนาการดี แม่ลูกปลอดภัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอาหมัด ตระกูลกลกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......