กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและโภชนาการของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ”
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางจรัสพร จันทร์ศิริ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและโภชนาการของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ

ที่อยู่ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3350-02-19 เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและโภชนาการของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนมะพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและโภชนาการของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและโภชนาการของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3350-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนมะพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดพัทลุง เป็นหน่วยงานที่ให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม แก่เด็กพิการตั้งแต่แรกเกิด หรือแรกพบความพิการ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กพิการให้มีพัฒนาการ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์เป็นคนดี มีวินัย และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในปัจจุบันสังคมไทยมุ่งเน้นการจัดระบบสวัสดิการ ต่าง ๆ ให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายโดยรัฐ อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง มีการขับเคลื่อนการดำเนินการ ด้านกฎหมาย นโยบาย แผนงานต่าง ๆ แก่กลุ่มเป้าหมายเด็กพิเศษมากขึ้น หากแต่ในความเป็นจริงคงไม่สามารถปฏิเสธ ได้ว่ายังมีจำนวนเด็กพิเศษอีกไม่น้อยที่ไม่สามารถ เข้าถึงบริการต่าง ๆ ของรัฐได้อย่างทั่วถึงในทุกระดับสังคมซึ่งจากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ เด็กพิเศษส่วนใหญ่ ยังขาดการฟื้นฟูในทุกด้าน ขาดโอกาสในการเรียนรู้สู่สังคมภายนอก อันเนื่องมาจากครอบครัวเด็กพิเศษ ขาดความกล้าและขาดความมั่นใจในการพาเด็กพิเศษเหล่านั้นออกสู่สังคมภายนอก ที่นอกเหนือจากบ้านพัก และชุมชนในครอบครัวตัวเอง อีกทั้งสังคมส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจและขาดการยอมรับเด็กพิเศษเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลให้เด็กพิเศษเหล่านั้นไม่ได้รับการพัฒนา และฟื้นฟูในด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของแต่ละ บุคคล ขาดทักษะการดำรงชีวิต จากประสบการณ์จริงในการเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตใหม่ๆ เพื่อนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน รวมทั้งขาดกระบวนการเรียนรู้ ในการเข้าสู่สังคม “ครอบครัวเด็กพิเศษ” เป็นผู้ที่มีบทบาท สำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการของเด็กพิเศษ หากครอบครัวเหล่านี้ได้มีโอกาสเรียนรู้กระบวนการพัฒนาเด็กพิเศษ จากโลกภายนอก และจากประสบการณ์เรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ย่อมส่งผลให้ครอบครัว เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดีต่อเด็กพิเศษมากขึ้น และหากเด็กพิเศษเองได้มี กระบวนการเรียนรู้ทักษะต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสมย่อมส่งผลให้พวกเขาเหล่านั้นได้รับโอกาสในการ พัฒนาและเรียนรู้อย่างรอบด้านเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ยังพบว่า มีกลุ่มครอบครัวเด็กพิเศษที่ยังขาดโอกาส ในการมีส่วนเข้าร่วมกิจกรรมและขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งความรู้และการเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิตใหม่ ๆ ตลอดจนได้รับโอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริม การเรียนรู้ ของเด็กและครอบครัวได้อย่างทั่วถึงอีกด้วย ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดพัทลุง จึงตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของเด็กพิเศษ ทั้ง ๙ ประเภทความพิการ ซึ่งเป็นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าทุกด้านและมีปัญหาทางด้านสุขภาพ ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดพัทลุง จึงได้เห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ของผู้เรียน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงได้จัดทำโครงการ “การส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากและหลักโภชนาการของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ” ขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยทั้งสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ เพื่อสุขภาพที่ดี ตามจุดเน้นด้านสุขภาพองค์รวมของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพปัญญา และสุขภาพสังคม โดยเน้นให้ผู้เรียน “ เรียนดี มีความสุข ”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลช่องปากและอาหารที่เหมาะสมตามวัยถูกหลักโภชนาการและตรวจสุขภาพช่องปากสำหรับผู้เรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครูและครูพี่เลี้ยงผู้ดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็ 2
ผู้ปกครองนักเรียนศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดพัท 20
เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษมีสุขภาพช่องปากและร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์
2) เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษได้วิธีการดูแลช่องปากและรู้หลักการรับประทานอาหารที่ถูกโภชนาการ
3) พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยงผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวิธีการดูแลช่องปากและอาหารที่ถูกหลักโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 42
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครูและครูพี่เลี้ยงผู้ดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็ 2
ผู้ปกครองนักเรียนศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดพัท 20
เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลช่องปากและอาหารที่เหมาะสมตามวัยถูกหลักโภชนาการและตรวจสุขภาพช่องปากสำหรับผู้เรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและโภชนาการของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3350-02-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจรัสพร จันทร์ศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด