กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปลูกผักปลอดสารเคมี สุขภาพดี ลดโรค ประจำปี 2568 ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางอาซียะห์ สาและ




ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารเคมี สุขภาพดี ลดโรค ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L8422-02-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-02-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักปลอดสารเคมี สุขภาพดี ลดโรค ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักปลอดสารเคมี สุขภาพดี ลดโรค ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักปลอดสารเคมี สุขภาพดี ลดโรค ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8422-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,910.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่าประชาชนในชุมชนมีพฤติกรรมการบริโภคผักจากจากตลาดทั่วไป มีความเสี่ยงในการปนเปื้อนสารเคมีตกค้าง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว เช่น สารกำจัดศัตรูพืชหรือปุ๋ยเคมี ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง ระบบทางเดินอาหาร และภูมิแพ้สะสมในระยะยาว ขณะเดียวกัน ภาวะเศรษฐกิจที่ยังคงเปราะบาง ทำให้บางครัวเรือนมีข้อจำกัดในการเลือกซื้อผักปลอดภัย จึงเกิดแนวคิดส่งเสริมให้ประชาชน "ปลูกผักปลอดสารเคมีข้างบ้าน" เพื่อให้เข้าถึงอาหารปลอดภัย ลดรายจ่ายด้านอาหาร เพิ่มกิจกรรมทางกาย และสร้างความภาคภูมิใจในตนเองและครอบครัวอีกทั้งส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในตำบล และสร้างความมั่นคงด้านอาหารอย่างยั่งยืน โครงการนี้มุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาพดีจากการบริโภคผักปลอดสาร ป้องกันโรค ลดโรค ลดภาระงบประมาณในการรักษา และสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ต่อยอดในระดับครัวเรือนและชุมชนได้ เพื่อให้ประชาชนสามารถเรียนรู้และนำไปปฏิบัติได้จริงในครัวเรือนของตนเอง การส่งเสริมให้ประชาชนมีการพึ่งพาตนเอง ผลิตอาหารไว้กินเองในครัวเรือน "ปลูกเอง กินเอง" โดย การปลูกผักปลอดสารพิษภายในชุมชน ซึ่งนอกจากจะช่วยลดรายจ่ายจากการซื้ออาหารเข้าบ้านแล้วยังช่วยให้มีการรวมกลุ่มมาพูดคุยกันสร้างสัมพันธ์ที่ดี มีความเอื้ออารีกัน ได้ความสามัคคี จิตใจแจ่มใส และร่างกายแข็งแรง มีการส่งเสริมให้ทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำเกษตรอินทรีย์และส่งเสริมให้ประชาชน ลด ละ เลิก อบายมุข ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเรียนรู้ศูนย์เป็นการสืบทอดต่อภูมิปัญญาของท้องถิ่นอาชีพหลักของประชาชนตำบลจวบ ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกร ช่วงฤดูฝน ขาดรายได้ กลุ่มรักสุขภาพตำบลจวบ จึงจัดหาสถานที่ ให้ประชาชนในหมู่บ้าน กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทำกิจกรรมการปลูกผัก ทำให้มีผักรับประทานตลอดเพิ่มกิจกรรมเป็นกลุ่มส่งเสริมอาชีพเพื่อให้คนในชุมชนกลับมาช่วยกันทำ และสร้างรายได้เสริม พัฒนาเงินทุนทุนชุมชนจากการดำเนินงานโครงการให้ประชาชนในตำบลเรียนรู้การดูแลตนเอง โดยการปลูกพืชสมุนไพรปลูกผัก รับประทานทำให้ประชาชนในตำบลเริ่มรู้ถึงประโยชน์ของการรับประทานผักปลอดสารพิษมากขึ้นและขยายผลเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ ประชาชนมีความสามัคคีปรองดองกัน พูดคุยกันมากขึ้น มีการรวมตัวเพื่อช่วยกันคิดหาแนวทางแก้ไขปัญหาของชุมชน คนที่ไม่ต้องออกทำงานต่างถิ่นก็กลับมาช่วยกันทำงาน ทำกินเองไม่ต้องซื้อขอของจากตลาดมากิน ลดรายจ่ายและมาใช้อย่างคุ้มค่าเกิดการออมทรัพย์จากกองทุนการเกษตรเพื่อให้ประชาชนได้ไปใช้ประโยขน์ ภาพของคนในชุมชน ด้านกาย มีสุขภาพกายดีขึ้น ไม่ค่อยเจ็บไข้ได้ป่วย มีอาหารที่มีประโยชน์ไว้กินความร่าเริงแจ่มใส ไม่ต้องเครียดหรืออารมณ์ขุ่นมัว ด้านสังคม ครอบครัวไม่มีความขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท ชุมชนจะมี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีการปรึกษาหารือกัน ช่วยกันคิด ช่วยกันทำงานเป็นกลุ่มและภูมิปัญญา มีการสืบทอดสิ่งดีๆ ในชุมชนและสร้างเป็นอาชีพเสริมเพื่อเป็นการส่งเสริมการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่อง เป็นการช่วยลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ พอกินพอใช้และอยู่อย่างพอเพียงและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาด้านสุขภาพของตนเอง ดังนั้นกลุ่มรักสุขภาพตำบลจวบ เห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการปลูกผักปลอดสารเคมี สุขภาพดี ลดโรค ประจำปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษจนเกิดวิถีการปลูกผักไร้สารเคมี
  2. เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนสามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน ตลอดจนเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชน
  3. เพื่อให้มีศูนย์เรียนรู้ให้ประชาชนมาศึกษาการปลูกผักปลอดสารพิษในหมู่บ้าน อย่างน้อย 1 ศูนย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ การปลูกผักปลอดสารเคมี
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารเคมี
  3. กิจกรรมจัดทำแปลงปลูกผักตัวอย่าง
  4. การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน
  5. กิจกรรมส่งเสริม และให้คำปรึกษาเชิงรุกการปลูกผักริมรั้ว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษจนเกิดวิถีการปลูกผักไร้สารเคมี 2.ประชาชนในครัวเรือนสามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน ตลอดจนเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชน
3.มีศูนย์เรียนรู้ให้ประชาชนมาศึกษาการปลูกผักปลอดสารพิษในหมู่บ้าน จำนวน 1 ศูนย์ 4.ประชาชนสามารถทำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เองได้ 5.ลดค่าใช้จ่ายด้านการซื้อปุ๋ย 6.เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แปลงผักปลอดสาร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษจนเกิดวิถีการปลูกผักไร้สารเคมี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษจนเกิดวิถีการปลูกผักไร้สารเคมี
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนสามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน ตลอดจนเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนในครัวเรือนสามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน ตลอดจนเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชน
0.00

 

3 เพื่อให้มีศูนย์เรียนรู้ให้ประชาชนมาศึกษาการปลูกผักปลอดสารพิษในหมู่บ้าน อย่างน้อย 1 ศูนย์
ตัวชี้วัด : มีศูนย์เรียนรู้ให้ประชาชนมาศึกษาการปลูกผักปลอดสารพิษในหมู่บ้าน จำนวน 1 ศูนย์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษจนเกิดวิถีการปลูกผักไร้สารเคมี (2) เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนสามารถนำไปใช้บริโภคในครัวเรือน ตลอดจนเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชน (3) เพื่อให้มีศูนย์เรียนรู้ให้ประชาชนมาศึกษาการปลูกผักปลอดสารพิษในหมู่บ้าน อย่างน้อย 1 ศูนย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ การปลูกผักปลอดสารเคมี (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารเคมี (3) กิจกรรมจัดทำแปลงปลูกผักตัวอย่าง (4) การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน (5) กิจกรรมส่งเสริม และให้คำปรึกษาเชิงรุกการปลูกผักริมรั้ว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักปลอดสารเคมี สุขภาพดี ลดโรค ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L8422-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาซียะห์ สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด